ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ volatility

Dynamic Volatility Targeting Note

  ตอนนี้กำลังตีโจทย์ออกแบบระบบที่ fix ขนาดของ MaxDD (ระดับเดือน 10%)และ Daily loss อยู่ จริงๆมันก็ไม่ยากถ้าไม่มีโจทย์เรื่อง Profit tatget ที่ 10% เข้ามาด้วย เพราะปกติสองด้านนี้มันสองสายเลย ความยากมันจึงเกิด จริงๆแล้ว Return นี้มันไม่อาจจะควบคุมเพราะมันแปรผันไปตามภาวะตลาดและราคา asset แต่ Risk หรือความเสี่ยงเราคุมได้สบายๆ พอโจทย์มันจับสองตัวมาผูกกัน(เข้าใจว่าเขาพยายามจะทำให้ผ่านยาก) ตรงนี้แหละปัญหา วันนี้ได้ฟัง podcast อันหนึ่งของ Perry Kaufman จากรายการ toptradersunplugged เขาพูดถึงการใช้ Volatility Targeting ไอเดียโดยสรุปคือการคำนวณ volatility ของพอร์ต เพื่อใช้กำหนดขนาดของ position size และการใช้ leverage ในกลยุทธ์การเทรดของ system , แนวทางของ Kaufman ใช้การคำนวนvolatility ของพอร์ตจาก mean 40 day return ซึ่งตั้ง target ที่ 12% ถ้า portfolio มันเคลื่อนเกิน 12% เขาก็จะ stoploss หรือปรับลด position ลง โดยเฉพาะ position ที่ใช้ leverage , ขณะที่ถ้า portfolio volatility ต่ำกว่า 12% เขาจะดึง volatility ขึ้นการใช้ leverage เพื่อเพิ่มขนาด position size ในช่วง low volatily เพื่อบูต return ของพอ

Same return + less volatility = free lunch.

  จบ live สดบรรยายไอเดียการบริหารจัดการความเสี่ยงแบบ D&D (diversification & de-risking strategies.)ให้กลุ่มน้องๆเทรดเดอร์ไป พอดีเมื่อวานมีคนถามแนวทางการเทรดปีนี้ ส่วนตัวผมมองว่าสถานการณ์เศรษฐกิจมันยังไม่โปร่ง covid ยังไม่จบ ตลาดหุ้นก็ขึ้นทรงแปลกๆ เลยแนะนำการจัดการความเสี่ยงเบื้องต้นในพอร์ตไป สรุปสั้นๆสำหรับคนที่ไม่ได้เข้าฟัง 1. ผมเริ่มจากการ diversification จริงๆก็ทำ correlation analysis นะแต่ไม่ต้องการฟิกเลยเอา economic template ของคุณ ray dalio มาประยุกต์ คือผสมที่สัมพันธ์กันต่ำ และเลือกผสมหลายตัว ทั้งกลุ่ม asset ที่รอดในภาวะ High inflation , low inflation และ recession รวมสัก 4-5 ชนิดแต่ละตัวของให้รอดในหนึ่งเคสภาวะเศรษฐกิจพวกนี้ แบบไม่ต้องเดา ว่าเศรษฐกิจปี 2021 จะออกมุมไหน ก็เตรียมรอไว้หมด และใช้ weight แบบ inv volatility ก็น่าจะลด total risk ในพอร์ตลง 2. ก็ทำกลยุทธ์ de-risking โดยเน้นหาตัวที่ค่อนข้าง low volatility และทำการเทรดแบบปรับต้นทุน reduce cost ตามภาวะราคา เพื่อลด volatility รวมของ portfolio 3. สุดท้ายพยายามล๊อค profit ถ้า asset มีโมเมนตรัม ไม่เร่งไม่อัดมาก เพื่อให้

vollib(python library opensource)

เมื่อวานสอนเรื่องการเทรด option เบื้องต้น ผมใช้ quantlib ในการสาธิตการสอนการคำนวณ option pricing ด้วย Black-Scholes , implied volatility และ greeks parameter ซึ่ง quantlib กับ python อาจจะดูทรงพลัง แต่เยอะและยุ่งยากมาก(เมื่อวานพูดไป 3 ชม. หมดแรงเลย) ดังนั้นถ้าน้องเทรดเดอร์เพิ่งหัด วิเคราะห์ราคาหรือทำกลยุทธ์การเทรด options ผมแนะนำอีกหนึ่งทางเลือกชื่อ vollib เป็น python library opensource และมีการอธิบายวิธีการคำนวณและการใช้งานแค่ละโมดูล ได้ชัดเจนดี สะดวกและสามารถคำนวณค่าต่างๆ ได้ในไม่กี่ขั้นตอนผ่าน vollib package ข้อเสียคือโปรเจคนี้หยุดพัฒนาต่อแล้ว แต่ก็ยังสามารถใช้งานได้อยู่ ใครสนใจลองเข้าไปเรียนรู้และทดลองใช้ได้ที่ http://vollib.org/documentation/python/0.1.5/index.html 

Volatility: how ‘algos’ changed the rhythm of the market

บทความนี้นะครับ ที่ได้พูดถึงเมือวาน แม้จะเป็นของเก่าของปีที่แล้วแต่ก็สามารถอธิบาย ประเด็นการใช้ technical analysis ในตลาดปัจจุบันทำไมแตกต่างหรือได้ผลลัพธ์ ไม่เหมือนในตำรา ที่เขียนกันมาเมื่อ 50 ปีที่(1970) แล้ว เครื่องมือพวกนี้ ผู้พัฒนาเขาก็คิดค้นทดลองวิจัย กับข้อมูลตลาดในยุคหนึ่ง พอพฤติกรรมตลาดเปลี่ยน ผลการทำงานของเครื่องมือหรือความแม่นยำ มันย่อมเปลี่ยนตาม แต่ไม่ได้แปลว่า ใช้ไม่ได้  แต่เทรดเดอร์ต้องใช้ให้เป็น ต้องใช้ data driven strategy แทนการมโน หรือการยึดติดกับเครื่องมือ ราวกับว่ามันเป็นลูกแก้ววิเศษ ลองอ่านบทความนี้ได้จาก link ด้านล่าง ยาวมากแต่จะทำให้เราเข้าใจพฤติกรรมตลาดในยุคปัจจุบันและอนาคตดีขึ้น โดยเฉพาะพฤติกรรมราคาที่มีความผันผวนสูง เกิดบ่อยและอ่อนไหวต่อ sentimental factor ทุกอย่างทั้งพฤติกรรมราคาและ volume ต่างเปลี่ยนแปลงได้เร็ว อันเกิดจากการเทรดพวก computer trading (กลายเป็นกลุ่มที่ครอง volume การเทรดอันดับต้นในหลายตลาด) หรือพวก HFT ซึ่งจากข้อมูลปัจจุบันพวกนี้มีบทบาทขึ้นเรื่อยๆ ในตลาด (และยุคนี้ไม่ใช่แค่เร็ว HFT ยังฉลาดเพราะ +AI ที่เทรนมาเพื่อ หาจุดเข้าออกบนการวิเ

Introduction to Volatility Trading

นั่งหาคลิปใน youtube ฟังไปเจออันนี้ของ Christopher Quill คนนี้เป็น Quant Analyst ของ ITPM บรรยายเรื่อง volatility ค่อนข้างน่าสนใจ เพราะตลาดปัจจุบันมันไม่เหมือนอดีต Trend มันไม่ใช่พระเอกละ กลายเป็น Volatility สไตล์ volatility trading ก็กำลังมาแรงและถูกนำมาใช้กันมาขึ้นระยะ 2-3ปีที่ผ่านมา เช่น Mean reversion , Scalping เป็นต้น คลิปยาวนะแต่อธิบายดี พูดภาพรวมการใช้เทรด สอนคำนวณทั้ง Implied volatility และ Historic volatility(Time series) เข้าไปฟังได้จากคลิปด้านล่าง https://www.youtube.com/watch?v=eqmTHLgZzqQ

Trading Volatility as an Asset Class

เช้านี้ผมได้อ่านบทความหนึ่ง ชื่อ Trading Volatility as an Asset Class จาก thehedgefundjournal ค่อนข้างน่าสนใจ โดยเฉพาะ น้องๆที่จะหัดเทรด options อยากให้มองประเด็นนี้ให้ชัด มันช่วยพัฒนากลยุทธ์ได้มากกว่าการไปนั่ง เก็งกำไรกับทิศทางราคา ไอเดียหลักบทความนี้ พูดถึงการที่เรามอง volatility ของราคาให้เป็นเหมือน asset ตัวหนึ่งในพอร์ต ซึ่งมีการ implement ได้หลายแบบ ในบทความนี้เน้นใช้ options เพื่อ diversify กระจายความ เสี่ยงรวมของพอร์ต ใช้ options ควบคู่กับ core asset ที่อาจจะใช้ strategies หลักระยะยาวรันขนานกันไป กับ options ที่มีช่วงเวลาวันหมดอายุ แต่ช่วยให้ผ่าน market volatile ที่เกิดได้ในอนาคต เป็นการวางกลยุทธ์ในระดับ portfolio management strategies ที่ประเมิน volatility ใน asset หลักที่เกิดจากนั้นใช้ options มาเป็นตัวดูดซับ ค่าความไม่แน่นอนตรงนั้น ซึ่งบทความนี้ผู้เขียนมองถึงปัจจัยเสี่ยงภายนอก ที่เชื่อว่าจะมีอิทธิพลมากขึ้น เช่นเรื่อง ความไม่แน่นอนเศรษฐกิจโลก, นโยบายธนาคารกลางรอบใหม่, การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย, US debt ceiling และสเถียรภาพของ eurozone เป็นต้น ผลกระทบปัจจัยเหล่านี้ส

volatility analysis

พูดถึงการทำ volatility analysis กับการวิเคราะห์พฤติกรรมราคาเชิงสถิติขั้นสูง แนะนำ Volatility Laboratory (V-Lab) ไป พวกเราที่สนใจเข้าไปดูได้ที่ link ด้านล่าง ทดลองใช้งาน app ได้ฟรี มี data set ทั้ง Currency, Commodity, Stock Index ,ETFs และอื่นๆให้ลอง Volatility Laboratory (V-Lab) ผลงานทีมวิจัยพัฒนาของ Stern NYU (ที่นี้ด้าน Quant ดังอยู่แล้ว) เขาเน้นเครื่องมือวิเคราะห์ volatility และ correlations บนโมเดลหลายประเภท แถมมี เอกสาร ให้อ่านเรื่องของทฤษฏีและการคำนวณของแต่ล ะโมเดลด้วย เช่นเรื่อง Value at Risk (VaR), Volatility Analysis,Volatility Clusters, Fat Tail เป็นต้น เว็บจะอธิบายแนวคิดหลักและยกโมเดลอย่าง GARCH , EGARCH มาประกอบ ตรงนี้อยากเห็นผลการคำนวณการกดเข้ารัน application ได้สะดวกมากไม่ต้องมาเขียน code รันโมเดลเอง อยากศึกษาเรื่องของ volatility เพิ่มเติมก็ลองเข้าไปใช้งาไนด้ฟรีจาก link ด้านล่าง https://vlab.stern.nyu.edu/ ปล. ภาพด้านล่างเป็นการอนุมาน Volatility ของ SET50 เราจะเห็นเลยว่าช่วงสองเดือนนี้ ไม่ธรรมดาจริงๆ ปล. GARCH(p,q) คงไม่สอนนะครับอธิบายยาวไปอ่านดูใ

Volatility

ผมว่าช่วงนี้คงได้ยินคำนี้บ่อย บางคนก็ยังงง เข้าใจคำว่า volatiltiy ไม่ค่อยกระจ่างนัก บ้างว่า volatility คือ risk บ้างละ  บ้างว่า volatility คือ indicator บ้างละ  บ้างว่า volatility คือ ATR บ้างละ  บ้างว่า volatility ขึ้นกับ timeframe บ้างละ  วันนี้ผมเอา link น่าสนใจมาแนะนำ อยากให้ลองไปศึกษาเพิ่ม เติม บางทีผมสรุปเองพูดเอง เดี่ยวอา่จจะทำให้ ยังเชื่อได้ไม่สนิทใจ ผมนำเอา บทความของคนสองคน ที่ชำนาญเรื่อง volatility อย่างมาก   มาฝาก เพื่อให้พวกเราเห็นภาพ ว่ามันไม่เกี่ยวกับ สไตล์การทำเงินหรอก  เพราะความรู้ สามัญในการ เข้าใจสภาวะของตลาด มันเป็นเรื่องที่ ถ้าจะอยู่รอด ต้องแตกฉานระดับหนึ่ง ถึงจะวางกลยุทธ์ สร้างผลตอบแทน หรือจำกัด ความเสี่ยง ได้  1. Warren Buffer เป็นอีกคนที่ เขียนเรื่อง volatility กระจ่างศาสตร์มาก ถ้าศึกษาจริงๆจะพบ ฺBuffet นี่ก็ใช้ประโยชน์จาก volatility เยอะ ในการหาความได้เปรีบบในการเข้าสะสมหุ้น Volatility is not the same thing as risk, and investors who think it is will cost themselves money   http://www.businessinsider.com/warren-buffett-on