ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

10 things I learned from "Cliff Asness" interview

- Cliff Asness วัย 52 ปี มหาเศรษฐีพันล้านเป็น ผู้บริหารของ AQR Capital มี AUM $226 billion เขาจบ Phd เป็นศิษย์เอกของ Eugene Fama โลดแล่นในตลาดกว่า 20 ปี - สัมภาษณ์ยาวมาก แบ่ง 3 ด้านหลักเรื่องของทิศทางตลา ด, กลยุทธ์ของ AQR และ Quant ในยุคปัจจุบัน -1.ปี 2018 ไม่ใช้ปีที่ดีของ Quant Strategies เมื่อเทียบกับ 3 ปีก่อนหน้า ภาวะตลาดมีคว ามผันผวน มีปัจจัยต่างๆกดดัน แต่ยังไม่ถึงกับเลวร้าย ต้องถอดใจ -2. Asness พูดถึง trend following ต่อจากความเห็นของ david harding ที่ระบุว่า winton ลดน้ำหนักในกลยุทธ์ Trendfollowing +ลดค่า free ในกองทุนที่รันด้วยกลยุทธ์น ี้เพราะมองว่าอนาคตอาจจะไม่ สามารถทำผลงานได้ดี Asness แสดงความเห็นว่า trend following อาจจะทำผลงานไม่ดีเหมือนยุค อดีต แต่เขายังเชื่อว่าการเคลื่อ นตัวของแนวโน้มยังมีอยู่ เปลี่ยนรูปไป reverse บ่อยขึ้นและมีความผันผวนมาก ขึ้น แต่การใช้กลยุทธ์ต้องระวัง -3. การ diversification เชิงกลยุทธ์ สร้าง return ผสมกลยุทธ์ประเภทอื่นๆ เช่น factor, value ,momentum ร่วมกับ trend following พิจารณา liquidity และ Volatility ของตลาด ร่วมการจัดการความเสี่ยง กำหนดขนาดของเงิ

Effect of raising interest rates

เมื่อวาน ได้มีโอกาสไปนั่งล้อมวงสนทนาออนไลน์กับพี่น้องนักลงทุนและเทรดเดอร์ ถึงผลกระทบที่เกิด ในปีหน้า ช่วงทิศทางดอกเบี้ยขาขึ้น ของไทยเริ่มปรับเบาๆ ส่วน Fed ล่าสุดก็ปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 25 bps สู่ร้อยละ 2.25–2.50 ตามคาด ตามข่าวระบุปีหน้ามีแผนปรับขึ้น 2 ครั้ง คุยกันหลายเรื่องหลายประเด็น ผมเองนั่งฟังคนเก่งๆที่ทำการบ้านมาพูด ก็ได้มุมมองเยอะดี โดยเฉพาะผลกระทบต่อกลุ่มอุตสาหกรรมสำคัญ อย่าง การเงิน ,ธนาคาร,อสังหา เป็นต้น ผมเองเมื่อวานเอาข้อมูล ที่อ่านเจอและสรุปเก็บไว้ไปแชร์ อันหนึ่งมาจาก economicshelp คิดว่ามีประโยชน์มาแปะไว้่หน้าเฟสอีกที อันนี้เป็น การวิเคราะห์ของ กูรูอเมริกา ข้อดีเขาแจกแจงด้านบวกด้านลบไว้ ให้เข้าใจง่าย ทำให้เราเห็นภาพได้ชัด รายละเอียด ลองไปแกะกันต่อเพิ่มเติม ส่วนน้องเทรดเดอร์คนหนึ่งถามทิ้งไว้ว่าตลาดหุ้นจะจบรอบเพราะ Fed หรือไม่ แนะนำลองอ่านบทความ fed-actually-trying-cause-stock-market-crash ของ zerohedge หัวข้อนี้ดูครับ ส่วนตัวผมคงไม่ขอเดาหรือทำนายอะไร เตรียมตัวไว้ให้พร้อมดีที่สุด https://www.economicshelp.org/macroeconomics/monetary-policy/effect-rai

Inverted Yield Curves Aren’t a Crystal Ball

ประเด็นกำลังพูดถึงกันเยอะ อีกหนึ่งหัวข้อตามสื่อและเว็บไซต์ต่างประเทศ เห็นจะเป็นเรื่องของ Inverted Yield Curves ที่เมื่อวันจันทร์ เกิดการมุดของเส้น yield curve ของ US 5-Year Bond ลงต่ำกว่า 2Y Bond เป็นครั้งแรกในรอบสิบปี นับจากปี 2007 ตามมาด้วยการปรับลงหนักของตลาดหุ้นสหรัฐ เมื่อวาน S&P500 -3.25% นักวิเคราะห์บอกว่ามาจากความกังวลจาก inverted yield curve. (อาจจะไม่เกี่ยวกันก็ได้) เหมือน กูรู /นวค. บางกลุ่มพ ยายามสื่อว่ามันคือลาง หรือสัญญาณบอกเหตุในอนาคต รวมถึงความคาดหวังเชิงลบที่จะเกิด บทความนี้ของ WSJ เขียนน่าสนใจดี โดยสรุปเขากล่าวว่า Inverted yield curves นั้นมันสามารถแกว่งได้ ปรับตัวได้ แต่มันไม่ใช่สาเหตุ ที่ทำให้เกิดการถดถอยทางเศรษฐกิจ ดังนั้นไม่จำเป็นว่าเมื่อเกิด Inverted yield curves จะต้องเกิดเศรษฐกิจถดถอยทุกครั้ง 100% เพราะyield curves นั้นไม่สามารถทำนายอนาคตเศรษฐกิจและตลาดหุ้นได้ (อันนี้นักวิชาการจาก Fed ออกมาอธิบายก่อนหน้าอย่างละเอียดแล้ว) บทความระบุว่าถ้าจะเกิด recessions จริงจะต้องมีปัจจัยสาเหตุอื่นๆ ประกอบ แต่ตอนนี้สิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้คือเรื่องของ market assu

10 Outrageous Predictions for 2019

ทีมนักกลยุทธ์และนักวิเคราะห์เศรษฐกิจของ saxo bank ทำรายงานที่ชื่อ 10 Outrageous Predictions for 2019 แบบสุดโต่งสุดๆแบบไม่ธรรมดา(และมีโอกาสจะเกิดได้เช่นกัน) มี 10 ข้อ ดังนี้ 1.EU announces a debt jubilee ** ปัญหาหนี้ กระทบต่อสเถียรภาพเศรษฐกิจและการเมืองยูโร 2.Apple “secures funding” for Tesla at $520/share **ฝันที่เป็นจริงของ Elon Musk เมื่อ apple หันมาร่วมมือพัฒนาธุรกิจ self driving car โดยการเข้าซื้อกิจการ Tesla 3.Trump tells Powell “you’re fired” **ทรัมป์เหลืออดกันนโบายของ Fed 4.Prime Minister Corbyn sends GBPUSD to parity **Corbyn ผู้นำจากพรรคแรงงานฝ่ายค้านขึ้นมาเป็นนายก UK คนใหม่ นำนโยบายประชานิยมและ universal basic income มาใช้ประเทศถังแตกเป็นหนี้สูง GBPUSD ร่วงลงรุนแรงระดับ 1.00 5.Corporate credit crunch pushes Netflix into GE’s vortex **ระเบิดหนี้เอกชน หุ้นกู้ ที่ร่วงรุนแรงรุกลามสู่ราคาหุ้น กระทบ ETF และตลาดหุ้นสหรัฐ 6.Australian central bank launches QE on housing bust Down Under ** ตลาดอสังหาออสเตเรียเกิดฟองสบู่ระเบิด RBA ต้องทำ QE กู้วิกฤติ 7.Germany enters recession **

8 Silent Signs Stress Is Making You Sick

ว่ากันว่างานหนักไม่เคยฆ่าคน แต่ความเครียดจากการทำงานนี้ตัวการที่ทำให้ล้มป่วยจนตายได้ การเทรดอาจจะไม่ใช่งานหนัก แต่ไม่ว่าจะหุ้น อนุพันธ์ หรือค่าเงิน มันมีเรื่องความกดดัน มีเรื่องความคาดหวัง จากผลลัพธ์ โดยเฉพาะเมื่อเรา "ขาดทุน" แม้จะไม่ขายไม่ขาดทุนแต่เห็นพอร์ตแดงๆก็เครียดได้ การเป็นเทรดเดอร์ อีกด้านที่เราต้องคำนึงและให้ความสำคัญคือเรื่องของ "ความเครียด" ดังนั้นอย่าวัดระบบเทรดแค่ตัวเลข ลองพิจารณาดีๆว่าระบบเ ทรดที่เราใช้มันทำให้เรา เครียด เกินไป หรือไม่(อาจจะเกิดจากระดับความเสี่ยงที่สูง หรือภาวะความไม่แน่นอนต่างๆอันนี้พิจารณากันดีๆ) ถ้ามันเทรดแล้วเครียด ยิ่งเทรดยิ่งเครียดแบบนี้ไม่เหมาะ เราควรถอยหลังออกมาพิจารณาปัญหา และหาทางแก้ไขโดยด่วน พอดีวันนี้มีคนมาปรึกษาเรื่องความเครียดจากการเทรด ผมจึงนำบทความจาก reader digest มาฝากกันเป็น วิธีการสังเกตตัวเราว่ากำลังตกในภาวะเครียดหรือไม่ โดยผู้เชี่ยวชาญแนะนำให้สังเกตจาก 1. ตุ่มหรือผืนแดงตามตัว(break out hives) 2. น้ำหนักตัวขึ้นๆลงๆ(weight starts to fluctuate) 3. ปวดหัวบ่อยๆ(getting headaches) 4. ปวดท้อง รวนท้องบ่อยๆ อาก

คำแนะนำข้อควรระวังสำหรับ retirement portfolio

การปรับตัวของตลาดหุ้นทั่วโลก รวมถึงแนวคิดการจะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ช่วงนี้เริ่มออกมามาก จากคำเตือนของเหล่ากูรูชื่อดังต่างๆ สำหรับคนทั่วไปโดยเฉพาะท่านใกล้เกษียณอาจจะเริ่มตั้งคำถามว่า ถ้าเกิดวิกฤติจริงๆควรจะทำยังไง?? Craig Kirsner คนนี้เป็น Retirement planner ชื่อดังของอเมริกา ซึ่งเขาแนะนำให้ preserve & protect พอร์ต retirement โดยเขาให้รายละเอียดว่า 1.Don’t let long periods of market calm fool you. อย่าติดกับผลงานอดีต ระวังความคาดหวังว่าปีนี้ ปีหน้าจะต้องได้กำไรมากเหมือนปีก่อน ซึ่งความโลภและความคาดหวังนี้ทำให้ เกิดความประมาทและก้าวร้าวเสี่ยงเกินตัว เข้าไปลงทุนในหุ้นความเสี่ยงสูง สุดท้ายตลาดปรับตัวลงรุนแรง ทำให้มูลค่าพอร์ตลดลงหรือขาดทุนหนัก 2.Understand what rising interest rates might do. ทำความเข้าใจผลกระทบจากอัตราดอกเบี้ยขาขึ้น ทิศทางที่จะเกิดในอนาคตค่อนข้างแน่นอนตามนโยบายของ Fed เขาแนะนำให้เอาปัจจัยนี้มาใช้วางแผนการลงทุน ระมัดระวังวิกฤติหนี้ 3.Be aware that the aging population could cool the economy. สหรัฐเข้าภาวะคนแก่มากกว่าการเกิด เขายกตัวเลขมีคนเข้าสู่วัยเกษียณ 1000

7 things I learned from The Wealthy Barber

The Wealthy Barber เขียนโดยคุณ David Chilton (1989) เขาทำงานเป็นผู้วางแผนทางการเงิน ตั้งใจเขียนเป็นแบบนวนิยาย ที่สนุกและเข้าใจง่ายเพื่อให้เข้าถึงคนธรรมดาทั่วไป เนื้อหาครอบคลุมประเด็นหลัก ตั้งแต่การออมเงิน การใช้จ่ายเงิน การกู้เงินเพื่อทำธุรกิจ การลงทุน และการจัดการเงินหลังเกษียณ แบบไม่ BS ไม่ขายฝัน สอนให้คนเข้าใจในความเสี่ยงการสร้างความมั่นคั่งแบบค่อยเป็นค่อยไป ผมสรุปประเด็นสำคัญไว้ 7 ข้อดังต่อไปนี้ 1. หลักพื้นฐา นและวินัย การจะรวยได้ ไม่ใช่สิ่งที่เกิดข้ามคืน แต่ไม่ใช่เรื่องยาก หรือเป็นไปไม่ได้ มันเริ่มจากหลักพื้นฐานคือ การใช้เงินอย่างประหยัด อดออมและลงทุน แล้วอาศัยการวางแผน การลงมือทำอย่างตั้งใจ มีวินัย ต่อเนื่อง 2. กล้าแตกต่าง เพื่ออนาคต สิ่งที่ยากในการมีวินัยทางการเงิน การออม ปัจจัยหนึ่งเกิดจากเมื่อเราปฏิบัติ แต่คนอื่นๆรอบข้างทำแตกต่างจากเรา เช่นซื้อรถใหม่ ซื้อเสื้อผ้าหรู กินอาหารแพง เราก็เกิดกิเลส อยากได้ ใช้เงินเพื่อสนองความยาก ทำให้หมดเงินไปอย่างฟุ่มเฟือย แทนที่จะนำเงินไปออมกินดอกเบี้ยหรือไปใช้ลงทุนกินปันผลต่อยอด ดังนั้นต้องกล้าเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้เงิน กล้าแตกต่างจากคน