ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ global macro

Interview with Ray Dalio - Davos 2019

มุมมองของคุณ ray dalio ยังไม่เปลี่ยนจากปีก่อน เชื่อว่ามีโอกาสที่จะเจอ recession ในช่วงราวๆ 2020 สรุป เนื้อหาคราวๆจากคลิปสัมภาษณ์ คุณ dalio ให้ความเห็นว่า เศรษฐกิจโลกจะพบการชะลอตัวทั้ง สหรัฐ ยุโรป จีน ญุี่ปุ่น และ ไม่ใช่แค่เรื่องของ เศรษฐกิจ(เรื่องของหนี้)อย่างเดียว แต่คุณ dalio เชื่อว่าปมประเด็นความขัดแย้งทางการเมือง ที่มาพร้อมช่องว่างระหว่างคนจน คนรวย(Wealth gap) จะทำให้เกิดการเผชิญหน้าของขั่วการเมือง 2 ฝ่าย ทั้งในและนอกสภา นำมาซึ่งปัญหา โดยเฉพาะช่วงปี 2020 อยู่ช่วงเทศกาลเลือกตั้ง ปธน. รวมไปถึงขีดจำกัดของ ธนาคารกลางในการรับมือ กับภาวะวิกฤติหรือการชะลอตัวเศรษฐกิจรอบใหม่กรณีที่เกิดในเวลาอันสั้น สุดท้าย 3 ประเด็นเหล่านี้ มีผลต่อนักลงทุน รายใหญ่ รายย่อย สถาบันการเงิน (ส่วนใหญ่ long และใช้ leverage ด้าน long ช่วงภาวะตลาดขาขึ้น) ที่ต้องมีการปรับแผนการลงทุน หลังตระหนัก ความเสี่ยงที่รุนแรงมากขึ้น จุดนั้นก็จะได้เห็น การเปลี่ยนแปลงของตลาด อย่างมีนัยยะ ปล. ฟังเพิ่มเติมได้จาก clip vdo ค่อนข้างจะสนุก เพราะ ray dalio พยายามจะตอบโต้กับ พิธีกรที่พูดแข่ง แย้งขึ้นมา

Wealth gap

งาน World Economic Forum นอกจากประเด็นความตรึงเครียดระหว่างจีนและสหรัฐแล้ว ยังมีเรื่องของ ความเหลื่อมล้ำ ช่องว่าระหว่างคนจนและคนรวยที่กว้างขึ้น สื่อหลายเจ้านำเสนอประเด็นนี้โดยเฉพาะตัวเลขสถิติ เช่น ทรัพย์สมบัติ ของคนรวยนั้นเพิ่มขึ้นทุกวัน แต่คนจนทรัพย์สมบัติกลับลดลง ค่าเฉลี่ยของคนจน 3.8 billion คนนั้นมีรายได้น้อยกว่า $5.5 ต่อวัน รายงานของ oxfam ระบุปัจจุบันสินทรัพย์ของมหาเศรษฐี นั้นเติบโตขึ้นมากกว่าอดีตหลายเท่าตัว คิดค่าเฉลี่ย 2.5 billion ต่อวัน รวมไปถึงความได้เปรียบ เช่นสิทธิ์ทางภาษีและข้อยกเว้นเพื่อสนับสนุนธุรกิจ จากนโยบายการเมืองของประเทศต่างๆ นักข่าวมองว่า อาจจะได้เห็นการอภิปรายหรือหาทางออกเรื่องปัญหาความเหลื่อมล้ำนี้ ที่กำลังอาจจะกลายเป็นประเด็นใหญ่ของโลกในอนาคต ใน theme หัวข้อ Globalization 4.0 ด้วย จากภาพ บลูมเบริ์กรายงานสินทรัพย์ ของเหล่ามหาเศรษฐีพันล้านคนดัง เทียบขนาดสินทรัพย์จากปี 2009 ถึง ปี 2019 เราจะเห็นถึงการเพิ่มขึ้น อย่างที่เรียกว่า มหาศาลเลยมีเดียว อ่านเพิ่มเติม https://www.weforum.org/focus/davos-2019 https:

Risk Map 2019

วันนี้นั่งอ่านบทความของ Ben Carlson แห่ง Ritholtz Wealth Management เขาพูดถึงความไม่แน่นอนและความเสี่ยงที่จะเกิดในปี 2019 มีหลายประเด็นที่ต้องติดตามกัน รวมไปถึง idea เรื่องการวางกลยุทธ์การเทรด สอดรับกับ theme ของความไม่แน่นอนที่จะเกิด โดยอิงจาก riskmap ในปี 2019 ซึ่งนวค. จาก controlrisks ได้มีการสรุป Top Five Risks for 2019 เอาไว้ ดังนี้ 1. US-China trade rift foretells a new global order > ประเด็น trade war ระหว่างจีนและสหรัฐ ที่มีการมองว่าจะกระทบไปถึง geopolitical และธุรกิจของบริษัทต่างๆ ที่ติดอยู่ตรงกลาง ระหว่างการโต้ตอบของจีนและสหรัฐ 2. The global data switchback ride > ประเด็นเรื่องของข้อมูลและการใช้ประโยชน์ของข้อมูล จากธุรกิจ โดยเฉพาะบริษัทไอทีและเทคโนโลยี กลายมาเป็นประเด็นเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ที่ดูเหมือนกลุ่ม EU และ US มองไม่ตรงกัน ทำให้การเป็นข้อขัดแย้ง ประเด็นนี้รวมไปถึงภัยคุกคาม cyber security อีกด้วย 3. American political gridlock > ความเห็นไม่ลงตัวของพรรคการเมือง Democrats ที่ครองเสียงสภาล่างและRepublican ครองเสียงในสภาสูง หลายนโยบายที่ต้อ

Brexit Scenarios

รายงานของสำน ักต่างๆ แนวโน้มความคิดเห็น นวค.ไปคล้ายกันคือเชื่อว่าป ีนี้ประเด็น Brexit จะเข้มข้นและหนักหน่วงขึ้น โดยเฉพาะแรงกดดันทางการเมือ งที่ตกกับตัวคุณ Theresa May นายกของ UK (จะมีนัดโหวตจากสภาเพื่อพิจ ารณารับข้อตกลงกับ EU รอบแรก 15 มค. นี้) นักข่าวและนักวิเคราะห์การเ มืองมองความน่าจะเป็นของทาง ออกประเด็นนี้ เป็น 4 ทาง แน่นอนว่าทางบวกต่อ GBP และ FTSE 100 index เป็น Soft Brexit แต่ถ้ าออกมา Hard Brexit ดูเหมือน ทั้ง EU และ UK คงจะต้องเหนื่อย ลากกันยาวต่อไปโดยเฉพาะ UK ที่ซีนาริโอออกมาอาจจะเกิดก ารเปลี่ยนแปลงทางการเมืองกั นเลยทีเดียว ล่าสุด 15-01-2019 ร่างข้อตกลง Brexit ไม่ผ่านการโหวตของสภา แพ้ไปด้วยคะแนนเสียง 432-202 ถือว่าเป็นความเสียหายทางการเมืองของพรรครัฐบาลพอควร โดยเฉพาะด้านเสถียรภาพและความเชื่อมั่น ทำให้ประเด็นหาทางออกเรื่องข้อตกลง Brexit ต้องยืดออกไปต่อขณะฝ่ายค้านเตรียมอภิปรายไม่ไว้วางใจ รัฐบาล นายก Theresa May ต่อ ด้านค่าเงิน GBP เมื่อคืนผันผวนมาก GBPUSD ปรับตัวลงแรง รับข่าวไปทำจุดต่ำสุดของวันที่ 1.26685 แต่ก็ทำ V shape เด้งกลับด้วยแรงซื้อ ช่วงเวลาอันสั้น ยกไ

Black rock survey -asset allocation

เมื่อวานอธิบายเรื่อง Fundflow การทำ data analysis จาก asset class ต่างๆเพื่อดูการเคลื่อนของเ งิน รายคาบเวลา มีคำถามหนึ่ง น่าสนใจ เกี่ยวกับ การไหลของเงินของ smart money ในการหลบปัจจัยเสี่ยง  วันนี้ผมไปอ่านเจอบทความของ  Mark Rzepczynski เขาเขียนถึงผลการสำรวจ black rock ล่าสุดที่ไปถามเหล่า institutional investor จำนวน 230 คนมี AUM รวมทั้งหมดมากกว่า $7 trillion เกี่ยวกับการทำ asset allocation (รายงานไม ่ได้ระบุช่วงเวลาของปีที่ทำ การ survey) ข้อมูลจากรายงานพบว่า money managers กังวลเรื่องของความเสี่ยง โดยเฉพาะสิ่งที่เกิดเมื่อปี ก่อนหน้าที่หลาย asset มี performance ที่ไม่ค่อยดี มีการลดน้ำหนักเงินในตลาดหุ ้น และเพิ่มเงินในกลุ่ม fixed income ในขณะที่ asset ประเภท private equity, real estate และ real assets สะท้อนการเพิ่มขึ้นจากเงินล งทุนของ money managers ที่เก็บ asset ประเภทนี้เข้าพอร์ต Mark Rzepczynski เขาก็ตั้งคำถามที่น่าสนใจ แน่นอนว่าตอนนี้ส่วนใหญ่ตระ หนัก ความเสี่ยงและความผันผวนเพิ ่มขึ้นในราคา asset ส่วนใหญ่พยายามจะหลีกเลี่ยง  แต่ทำไมถึงมีการเข้าลงทุน สะสมสินทรัพย์ที่มี liquid ต่ำในพ

Effect of raising interest rates

เมื่อวาน ได้มีโอกาสไปนั่งล้อมวงสนทนาออนไลน์กับพี่น้องนักลงทุนและเทรดเดอร์ ถึงผลกระทบที่เกิด ในปีหน้า ช่วงทิศทางดอกเบี้ยขาขึ้น ของไทยเริ่มปรับเบาๆ ส่วน Fed ล่าสุดก็ปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 25 bps สู่ร้อยละ 2.25–2.50 ตามคาด ตามข่าวระบุปีหน้ามีแผนปรับขึ้น 2 ครั้ง คุยกันหลายเรื่องหลายประเด็น ผมเองนั่งฟังคนเก่งๆที่ทำการบ้านมาพูด ก็ได้มุมมองเยอะดี โดยเฉพาะผลกระทบต่อกลุ่มอุตสาหกรรมสำคัญ อย่าง การเงิน ,ธนาคาร,อสังหา เป็นต้น ผมเองเมื่อวานเอาข้อมูล ที่อ่านเจอและสรุปเก็บไว้ไปแชร์ อันหนึ่งมาจาก economicshelp คิดว่ามีประโยชน์มาแปะไว้่หน้าเฟสอีกที อันนี้เป็น การวิเคราะห์ของ กูรูอเมริกา ข้อดีเขาแจกแจงด้านบวกด้านลบไว้ ให้เข้าใจง่าย ทำให้เราเห็นภาพได้ชัด รายละเอียด ลองไปแกะกันต่อเพิ่มเติม ส่วนน้องเทรดเดอร์คนหนึ่งถามทิ้งไว้ว่าตลาดหุ้นจะจบรอบเพราะ Fed หรือไม่ แนะนำลองอ่านบทความ fed-actually-trying-cause-stock-market-crash ของ zerohedge หัวข้อนี้ดูครับ ส่วนตัวผมคงไม่ขอเดาหรือทำนายอะไร เตรียมตัวไว้ให้พร้อมดีที่สุด https://www.economicshelp.org/macroeconomics/monetary-policy/effect-rai

Inverted Yield Curves Aren’t a Crystal Ball

ประเด็นกำลังพูดถึงกันเยอะ อีกหนึ่งหัวข้อตามสื่อและเว็บไซต์ต่างประเทศ เห็นจะเป็นเรื่องของ Inverted Yield Curves ที่เมื่อวันจันทร์ เกิดการมุดของเส้น yield curve ของ US 5-Year Bond ลงต่ำกว่า 2Y Bond เป็นครั้งแรกในรอบสิบปี นับจากปี 2007 ตามมาด้วยการปรับลงหนักของตลาดหุ้นสหรัฐ เมื่อวาน S&P500 -3.25% นักวิเคราะห์บอกว่ามาจากความกังวลจาก inverted yield curve. (อาจจะไม่เกี่ยวกันก็ได้) เหมือน กูรู /นวค. บางกลุ่มพ ยายามสื่อว่ามันคือลาง หรือสัญญาณบอกเหตุในอนาคต รวมถึงความคาดหวังเชิงลบที่จะเกิด บทความนี้ของ WSJ เขียนน่าสนใจดี โดยสรุปเขากล่าวว่า Inverted yield curves นั้นมันสามารถแกว่งได้ ปรับตัวได้ แต่มันไม่ใช่สาเหตุ ที่ทำให้เกิดการถดถอยทางเศรษฐกิจ ดังนั้นไม่จำเป็นว่าเมื่อเกิด Inverted yield curves จะต้องเกิดเศรษฐกิจถดถอยทุกครั้ง 100% เพราะyield curves นั้นไม่สามารถทำนายอนาคตเศรษฐกิจและตลาดหุ้นได้ (อันนี้นักวิชาการจาก Fed ออกมาอธิบายก่อนหน้าอย่างละเอียดแล้ว) บทความระบุว่าถ้าจะเกิด recessions จริงจะต้องมีปัจจัยสาเหตุอื่นๆ ประกอบ แต่ตอนนี้สิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้คือเรื่องของ market assu

10 Outrageous Predictions for 2019

ทีมนักกลยุทธ์และนักวิเคราะห์เศรษฐกิจของ saxo bank ทำรายงานที่ชื่อ 10 Outrageous Predictions for 2019 แบบสุดโต่งสุดๆแบบไม่ธรรมดา(และมีโอกาสจะเกิดได้เช่นกัน) มี 10 ข้อ ดังนี้ 1.EU announces a debt jubilee ** ปัญหาหนี้ กระทบต่อสเถียรภาพเศรษฐกิจและการเมืองยูโร 2.Apple “secures funding” for Tesla at $520/share **ฝันที่เป็นจริงของ Elon Musk เมื่อ apple หันมาร่วมมือพัฒนาธุรกิจ self driving car โดยการเข้าซื้อกิจการ Tesla 3.Trump tells Powell “you’re fired” **ทรัมป์เหลืออดกันนโบายของ Fed 4.Prime Minister Corbyn sends GBPUSD to parity **Corbyn ผู้นำจากพรรคแรงงานฝ่ายค้านขึ้นมาเป็นนายก UK คนใหม่ นำนโยบายประชานิยมและ universal basic income มาใช้ประเทศถังแตกเป็นหนี้สูง GBPUSD ร่วงลงรุนแรงระดับ 1.00 5.Corporate credit crunch pushes Netflix into GE’s vortex **ระเบิดหนี้เอกชน หุ้นกู้ ที่ร่วงรุนแรงรุกลามสู่ราคาหุ้น กระทบ ETF และตลาดหุ้นสหรัฐ 6.Australian central bank launches QE on housing bust Down Under ** ตลาดอสังหาออสเตเรียเกิดฟองสบู่ระเบิด RBA ต้องทำ QE กู้วิกฤติ 7.Germany enters recession **

2018 ฺBad Year

ข้อมูลจาก Deutsche Bank แสดงให้เห็นว่าทำไม การเทรดหรือการลงทุนในสินทรัพย์เดียว มันจึงไม่ง่ายที่สร้างผลตอบแทนสะสมที่เติบโต ดูจากสถิติย้อนหลังตั้งแต่ 1990 โดยเฉพาะช่วง วิกฤติการเงิน 1-2 ปี มากกว่า 50% จาก asset class นั้นมีผลตอบแทนติดลบ(negative returns) ส่วนในปี 2018 ยังต้องลุ้นหนักในเดือนสุดท้าย ข้อมูลล่าสุดจะพบ 90% จาก asset class จำนวน 70 ชนิด ผลตอบแทนเป็น negative returns ที่น่าสนใจคือทั้ง stocks(major indexes ต่างลงมามากพอควรชวง 2 เดือนที่ผ่านมา) , Crude Oil, Gold แม้จ ะมีการเคลื่อนที่ที่ไม่สัมพันธ์กัน แต่ก็มีโอกาสที่จะเห็น การจบปีด้วย negative returns สูงเช่นกันในปี 2018 ขณะเดียวกันข้อมูลปี 2017 แสดงให้เห็นว่ามีแค่ 1% เท่านั้นที่มีผลตอบแทนติดลบ ดังนั้นเมือเทียบระหว่างปี 2017 กับปี 2018 ในด้านข้อมูลสถิติ จะทำให้เห็นการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยยะ ไม่ได้สรุปอะไรมากจาก บทความ นี้แต่ก็ใช้เป็นข้อมูลประกอบในการติดตามตลาดต่อไป ปล. asset ผลตอบแทนรายปีติดลบ ไม่ได้แปลว่าเทรดแล้วจะต้องขาดทุนเสมอไป ถ้าไม่ได้ Buy & Hold ยาว https://www.marketwatch.com/story/how-bad-has-201

Ray Dalio Sees Parallels to 1930s in Today’s Markets

บลูมเบริ์กลงบทสัมภาษณ์ของคุณ Ray dalio โดย Barry Ritholtz มีหลายประเด็นน่าสนใจ สรุปเบื้องต้นเก็บไว้ดังนี้ - debt cycle ในปัจจุบันคล้ายปี 1930 (late stages of this short-term business cycle) - ตัวเลขหนี้จำนวนมหาศาลทำให้เผชิญปัญหา กรณีอัตราดอกเบี้ยขาขึ้น - อนาคต USD ลดทอนบทบาท(เงินสกุลอื่นจะขึ้นมามีบทบาทแทน แต่ ray ไม่ระบุรายละเอียด)และอาจจะด้อยค่าจากภาวะหนี้ -การสร้างหนี้ในอนาคตของรัฐบาลสหรัฐ จะยากขึ้น มีต้นทุนสูงขึ้นต้องเพิ่มผลตอบแทนเพื่อมาจูงใจเจ้าหนี้ต่างชาติ - Low interest rates ตัวเร่งทำให้เกิดภาวะ leveraged long กระแสเงินทำให้เกิดการเพิ่มกำลังซื้อในตลาดหุ้น ทำให้ราคาหุ้นปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ทำจุดสูงสุดช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ซึ่งภาวะนี้ไม่คงอยู่ตลอดไป  -ray แนะนำนักลงทุนเตรียมแผนรับมือ ลดความคาดหวังผลตอบแทนที่สูงเหมือนอดีต รวมบริหารความเสี่ยง balance portfolios [all weather strategies + risk parity] -เมื่อเกิดปัญหาเศรษฐกิจรอบใหม่ จะนำมาซึ่งปัญหาการเมืองต่อเนื่อง สาเหตุจากความไม่เท่าเทียมกันระหว่างคนจนและคนรวย ก่อเกิดระบอบประชานิยม การต่อสู้ของคนสองกลุ่มในสังคมที่รุนแรง

Global Macro Views Q3/2018

อ่านบทความของคุณ Mark Rzepczynski CEO ของ AMPHI Research เจ้าของเว็บ Disciplined Systematic Global Macro Views เขียนเรียบเรียงภาวะตลาดและเศรษฐกิจ ล่าสุดที่ผ่านมาไว้น่าสนใจ โดยสรุป เศรษฐกิจของสหรัฐตัวเลขออกมาเติบโต เช่นเดียวกับการขยับขึ้นของอัตราเงินเฟ้อเป็นไปตามเป้าของธนาคารกลาง ปัจจุบันอยู่ช่วงต้องจับตามองต่อไป ในภาวะการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย และผลกระทบต่อราคาสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง เช่น ตลาดหุ้น พันธ์บัตร ค่าเงินดอลลาร์ เป็นต้น ล่าสุดมีการปรับตัวของราคาหุ้น ในตลาด ต่างๆของโลกโดยเฉพาะในตลาดสหรัฐ แต่ตัวเลขผลประกอบการส่วนใหญ่ของบริษัทยังออกมาดี (รอดูผลกระทบ repricing กับช่วงอัตราดอกเบี้ยขาขึ้นต่อ) แต่ระมัดระวังความผันผวนที่จะเกิด ด้านทองคำและสินแร่มีค่า ราคามีการปรับตัวขึ้นมา หลังจากทำจุดต่ำสุดของปี ไปสอดคล้องช่วงตลาดหุ้นปรับตัวลง แต่ภาพรวมยังไม่มีแนวโน้มที่แข็งแรงและมีความผันผวนอยู่ ส่วนตลาด Bond ชะลอตัวมีแรงขายออกมาแต่แนวโน้มยังเป็นบวก ค่าเงิน USD แข็งแกร่งแนวโน้มบวก รับช่วงพิจารณาปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของ Fed อ่านเพิ่มเติม https://mrzepczynski.blogspot.com/2018/11/th

Next downturn by Nassim Nicholas Taleb

วันนี้นั่งฟังคลิปสัมภาษณ์ของคุณ Nassim Nicholas Taleb ฉายาใหม่ Black swan man ซึ่งแกสมเป็นศาสดาด้านนี้จริงเพราะมีแฟนเขียนการตูน อิงเรื่องราวของแกด้วย(อันนี้ผมยังไม่ได้อ่าน เดี่ยวอ่านจบจะมาเล่าต่อ) ประเด็นการสัมภาษณ์ค่อนข้าง Dark ตามสไตล์ความคิดเห็นแนวของแก โดยสรุปคุณ Taleb มองว่าสถานการณ์ปัจจุบันดูเหมือนจะดี แต่จริงๆมันไม่ได้ดี ระบบเศรษฐกิจ ภาคการเงินเปราะบางและอ่อนไหว มากกว่าตอนปี 2007 โดยเฉพาะถ้ามอง ในมุมของ Debt ทั้งฝั่งของ corporate และ government เรื่องหนึ่งที่แกเน้นคือการก่อหนี้ที่สูงและต้องกู้ยืมมาก โดยเฉพาะการกู้เพื่อมาใช้หนี้เก่า ทั้งรัฐบาลสหรัฐและภาคเอกชน ยิ่งมาปะทะกับช่วงต้องขึ้นอัตราดอกเบี้ยสูง มันย่อมจะทำให้เกิดความอ่อนไหว คุณ taleb เชื่อว่าคนที่ได้ประโยชน์จากการลดอัตราดอกเบี้ย สุดท้ายจะต้องเป็นคนได้รับผลกระทบหนักจากการขึ้นอัตราดอกเบี้ย สุดท้ายถ้าภาวะหนี้ระเบิด(เกิดDebt Crisis) ตลาดที่เชื่อมโยงกับ debt และ interest rate อย่าง อสังหา ก็จะได้รับผลกระทบก่อน ตามมาซึ่งตลาดหุ้น ยังมีประเด็นเรื่องภาวะอัตราดอกเบี้ยขาขึ้น ที่จะยากในการรักษาให้ตลาดหุ้น bullish หรืออย

Gold and Inflation 2018

ทองคำช่วงนี้ราคายังอยู่โซนต่ำ แถวระดับ $1200 ความน่าสนใจช่วงนี้จะเริ่มเห็นแรงเชียร์ บทวิเคราะห์เชิงบวกมากขึ้นตลอดเดือนที่ผ่านมา อย่างล่าสุด Francisco Blanch หัวหน้า นวค.ของ Bank of America Merrill Lynch มอง Gold จะไป $1350 ในปี 2019 ท่ามกลางเหตุผลต่างๆนานาๆเชิงบวก อันนี้คงรอดูต่อไปว่าปีหน้าทองจะกลับมาได้หรือเปล่า วันนี้ผมได้อ่านบทความชิ้นหนึ่งของ Mark Rzepczynski พูดถึงความไม่ปกติแง่พฤติกรรมความสัมพันธ์ของราคาทองคำ กับเงินเฟ้อ(inflation) ที่ดูเ หมือนแตกต่างจากอดีตที่ผ่าน เนื่องจากข้อมูล CPI ปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ด้าน Core inflation ทั้ง US และ EU ก็ปรับขึ้นมาระดับ 2% แต่ราคาทองคำในปีนี้ ยังอยู่ระดับที่ต่ำและมีสัญญาณการถดถอยอยู่ เช่นเดียวกันจากการทำ QE ที่ผ่านมาการเข้าซื้อ Bond จำนวนมหาศาลของ ECB และ Fed นั้นน่าจะทำให้ตลาด fixed income มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นกว่าช่วงเศรษฐกิจปกติ โดยสรุปคุณ Mark Rzepczynski ชี้ให้เห็นว่าราคาทองคำปัจจุบันมีบางอย่างแตกต่างไปจากพฤติกรรมในอดีต เหมือนตลาดยังเชื่อว่า inflation ยังถูกจำกัดและน่าจะกดอยู่ (ยังไม่เกิดภาวะเงินเฟ้อสูงในเวลานี้) ขณะที่ ec

Update Global Macro Economic Q3/2018

Global Economic Data สำคัญที่ต้องติดตามดู นำเสนอโดย Shane Oliver แห่ง AMP Capital 1. Global business conditions PMI Global PMI ของกลุ่มอุตสาหกรรมหลักและบริการในประเทศหลักของโลก นั้นชะลอและ slow down จากจุด Peak สะท้อนถึง global growth ในอนาคตที่อาจจะไม่สดใสนักในปีนี้ 2.Global inflation ติดตามการเพิ่มของ inflation ในประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ของโลก ในภาพจะพบ สหรัฐและจีน Inflation ยังอยู่ระดับ 2% ส่วนยุโรป ค่า inflation เริ่มยกกลับขึ้นมาระดับ 1% หลังนโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันยังต่ำกว่าช่วงวิกฤติการเงินปี 2007-2008 อยู่ เช่นเดียวกับ ญุี่ปุ่นที่ inflation อยู่ระดับต่ำห่างจากเป้า 2% ก่อนหน้ามาก แม้จะปรับตัวขึ้นได้ในช่วงปี 2017 2018 จากนโยบายของ BOJ 3.US yield curve ติดตามความไม่ปกติ ระดับ short rates วิ่งยกตัวขึ้นใกล้เคียงระดับใกล้เหนือ long rates สะท้อนพฤติกรรมตลาด ความเชื่อมั่นในอนาคตเศรษฐกิจระยะยาว ที่อาจจะดูไม่ดีนัก ส่วน GAP ของ 10Y bond yields และ the Fed Funds rate นั้น flat ระดับ 1.2% , ด้านGAP ของ 2Y bond yields และ the Fed Funds rate นั้นเ

เตรียมแผนรับมือกับความเสี่ยง1: Gary Shilling

วันนี้ชื่อของ Gary Shilling กลับมาบนหน้าสื่อหลักอีกครั้ง เชื่อว่าคนส่วนใหญ่อาจจะไม่รู้จักไม่คุ้นหูกับชื่อนี้ แต่ถ้าเทรดเดอร์หรือนักลงทุนที่อยู่ในตลาดมาก่อนซับไพร์ม น่าจะพอจำแกได้ Gary Shilling เป็นนักเศรษฐศาสตร์(phd)และเป็นนักวิเคราะห์ ชายที่ออกมาเตือนเรื่องวิกฤติฟองสบู่ในซับไพร์มคนแรกๆ เขียนรายงานเตือนปัญหาและความไม่ปกติที่เกิดตั้งแต่ช่วงปี 2004 จนทำให้ Greg Lippmann เทรดเดอร์(ตัวละครเด่นเล่นโดย Ryan Gosling ใ น Big Short) หลังอ่านรายงานและได้คุยกับ Gary Shilling ออกมา short โปรดักซ์อนุพันธ์ subprime mortgages ทำกำไรจากฟองสบู่ที่เกิดมหาศาล $1.5 billion ให้กับ Deutsche Bank ช่วยให้ธนาคารไม่ต้องรับการขาดทุนหนักจากวิกฤติครั้งนั้น เช่นเดียวกันคุณ Shilling ยังเป็นที่ปรึกษาให้กับคุณ John Paulson ผู้จัดการกองทุนเฮ็ดฟันด์ทำการเทรด credit default swaps ในปี 2006-2007 เมื่อ debt default ฟันด์ทำกำไรไป $4 billion ในปี 2007 คุณ Paulson กล่าวว่านี้คือการเทรดที่ดีที่สุดในชีวิตของเขา ตอนนั้นในปี 2006 ตอนที่ Gary Shilling พยายามนำเสนอแนวคิดและผลการวิเคราะห์ข้อมูลของแกเกี่ยวกับ ซับไพร์มว่าจ

How To Really Tell If a Recession is Coming

คลิปรายการ At what Cost ตอนนี้น่าสนใจ เนื่องจากช่วงปี 2018 นี้ มีการพูดถึง recession กันบ่อยขึ้นหลังเศรษฐกิจสหรัฐฟื้นตัวขึ้นมาต่อเนื่องปีที่ 9 จากวิกฤติการเงิน บลูมเบริกนำเสนอตัวชี้วัดการเกิด economic recession จาก 3 expert  1. yield curve  - Lisa abramowisz นักข่าวผู้เชี่ยวชาญด้าน fix income พูดถึง yield curve เป็น indicator สำคัญที่มีความน่าเชื่อถือในการระบุการเกิด recession(จากอดีต 7 ครั้งที่ผ่าน) ปัจจุบัน yie ild curve ต้องจับตาแม้จะยังไม่ invert แต่ก็ flat ระดับต่ำกว่า 1% เข้าใกล้ 0% 2. consumer confidence - Matthew Boesler พูดถึงตัวชี้วัดเศรษฐกิจอย่าง consumer confidence ที่ปัจจุบันจากการสำรวจล่าสุด ออกมาไม่สดใจ มีการชะลอตัวโดยเกิดปัจจัยของราคาที่เพิ่มสูงต่อเนื่อง ทั้งบ้าน อสังหาริมทรัพย์ และรถยนต์  3. stock market - Peter coy บรรณาธิการข่าวเศรษฐกิจการเงิน พูดถึง stock market แม้จะไม่ใช้ดัชนีชี้วัดที่น่าเชื่อถือมากนัก แต่ดัชนีตลาดหุ้นมีความสัมพันธ์กับเศรษฐกิจของประเทศ ยิ่งภาพเศรษฐกิจดี ส่งผลให้กิจการดี ดัชนีตลาดหุ้นเติบโต เข้าอ้างความคิดเห็นของ paul samuelson ระบุจาก 5

ความแข็งแกร่งของสหรัฐปี 2018(ด้านเศรษฐกิจ&การเงิน)

กระแสเงินพุ่งเข้าสู่สหรัฐ ทั้งตลาดหุ้น พันธ์บัตรและค่าเงิน รับการขยายตัวของเศรษฐกิจ ทิศทางอัตราดอกเบี้ยขาขึ้น และ Benjamin Jone นวค.จาก State Street ให้ความเห็นด้านปัจจัยบวกพื้นฐานที่ดึงดูดเงินเข้าตลาดสหรัฐจาก Fundametal ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สหรัฐ จะเห็นจากปีนี้แม้จบปัจจัยบวกจากนโยบายลดภาษี ผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียนโดยเฉพาะบริษัทขนาดใหญ่ ต่างมีตัวเลขการเติบโตที่เป็นบวก จากภาพแรกจะเห็น asset ที่เกี่ยวข้องกับส หรัฐ เช่น S&P500 และค่าเงิน USD บวกต่อเนื่องตลอดปี เอาชนะกลุ่มตลาดอื่นๆ โดยเฉพาะตลาดเกิดใหม่(EM equity และ EM debt)ที่ปีนี้ อาการค่อนข้างไม่สู้ดีไปตามๆกัน ส่วนภาพที่สอง แสดงความผิดปกติ ที่เกิดช่วงกลางปี 2018 ทิศทางลักษณะของตลาดหุ้นสหรัฐ bullish ขยายตัวโดดเด่นแตกต่างจาก ดัชนีตลาดประเทศอื่นๆ และการ divergence มีขนาดและระยะห่างออกไปเรื่อยๆในช่วงเวลา 3 เดือนที่ผ่านมา https://www.bloomberg.com/news/articles/2018-08-13/asian-stocks-set-for-mixed-open-dollar-holds-gain-markets-wrap

ภาพรวมเศรษฐกิจโลก

ภาพรวมเศรษฐกิจโลกการเติบโตยังแข็งแรง(Robust) แต่ต้องระวังปัจจัยเชิงลบและความเสี่ยง ซึ่งยังคงเพิ่มระดับความร้อนแรงขึ้น จากภาพสรุปของ Deutsche Bank Securities จะพบประเด็นมาแรงและน่าจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจหลายประเทศคือ Trade War ของโดนัล ทรัมป์ นั้นเอง ส่วนเศรษฐกิจกลุ่ม EM ผลงานล่าสุดยังดูดีอยู่ อีกประเด็นปัจจัยเสี่ยงที่ตอนนี้พูดกันหนา คือเรื่องการถดถอย การปรับฐานใหญ่ของตลาดหุ้น ซึ่งอาจจะนำไปสู่การชะลอตัวของเศรษฐกิจและการลงทุน อันนี้ต้องจับตามองต่อ อ้างอิงจาก http://ritholtz.com/2018/07/growth-robust-but/

Pursuing Truth in the Global Economy with Ray Dalio

Pursuing Truth in the Global Economy คลิปบทสนทนาของ Ray Dalio และ Lawrence Summers ที่ Harvard Kennedy School ช่วงเดือน กพ. 2018 ที่ผ่านมาเป็นคลิปที่มีหลายประเด็นน่าสนใจมาก เนื้อหาราวๆ 1.20 ชม. ค่อนข้างยาว ดังนั้นผมจะมารีวิวเบื้องต้นให้ลองดูกัน 1. ช่วงแรกการแนะนำตัวของคุณ Ray Dalio ซึ่งเป็นศิษย์เก่าของ Harvard University เล่าถึงเรื่องราวจุดเริ่มต้นก่อตั้งบริษัท Bridge water บริหารงานจนประสบความสำเร็จ 2. ประเด็นแนวคิดหนังสือ Principles ที่ Ray Dalio  เขียน โดยเขาอธิบายวิธีคิด กระบวนการเรียนรู้จากความผิดพลาด รวมไปถึงการสร้างวิธีการหาคำตอบ จากการแลกเปลี่ยนมุมมองความคิดที่แตกต่างกันแบบเปิด 3. ยกตัวอย่างระบบ Dot collector ที่ใช้ในบริษัท Bridgewater การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การโต้แย้ง และการสร้าง algorithm ในการหาคำตอบร่วมกัน การก้าวข้ามความขัดแย้ง 4. ถกกันยาวเรื่องแนวคิด Principle ในโลกความจริง ธุรกิจ การเมือง การบริหารองค์กร ตรงนี้ดีมากเพราะ คุณ Lawrence Summers เขาไม่ได้มองเห็นตาม Ray dalio ทั้งหมด(ไม่ใช่ขาอวย) มีหลายประเด็นที่เขายกขึ้นมาในแง่ปฏิบัติถึงการใช้แนวคิดเพื่อจะสร้าง Meritocrac