ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

Major Asset Classes 2018 Performance

พอดีเมื่อวานมีน้องท่านหนึ่งของข้อมูล return ของ asset class สรุปปี 2018 เอาไว้ วันนี้ผมเลยนำภาพกราฟิกสรุปจาก visualcapitalist มาแปะไว้ให้ จากภาพจะเห็นกลุ่ม currency ปี 2018 อาการไม่ค่อยดี แถมฉีกกว้าง (ปกติถ้าแกว่งแคบ range ไม่กว้าง,จบปี return ไม่สูงเกิน 1SD พวกนี้จะทำรอบเล่นกับ volatile ได้ดีกว่า การเคลื่อนที่ไปด้านใดด้านหนึ่งของราคาตามโมเมนตรัม ถ้าใครจับทางถูกก็ได้ผลตอบแทนมากตาม เช่นเดียวกันถ้าผิดก ็ขาดทุนหรือรับผลการโตของ DD ไป) สิริสกุลใหญ่ติดลบ CAD -6.3% , AUD -9.9%, GBP -5.9% ด้าน USD +4.6% ด้าน asset ทั่วไป VC จัดอันดับผู้ชนะและผู้แพ้ไว้ พวกนี้คือ extreme ปกติถ้าใครจับถูกก็กำไรงาม จับผิดก็โดนหนัก ด้านผู้ชนะราคาเติบโตในปี 2018 ได้แก่ หุ้น AMD +79.6% เช่นเดียวกับกลุ่มคลาสิก ประเภท ไวน์สะสมเก่าๆ ,งานศิลปะ ด้านผู้แพ้ที่ราคาถดถอยหนักได้แก่ หุ้นเก่แก่ 100 ปีอย่าง GE -56.6%, หุ้นซอส heinz -44.7% และขาดไม่ได้คือ bitcoin -75.4% อ่านข้อมูล asset class อื่นๆเพิ่มเติม จาก https://www.visualcapitalist.com/how-every-asset-class-currency-and-sector-performed-in-2018/

Venezuela Crisis 2019

สถานการณ์ใน Venezuela ก็เข้มข้น ตอนนี้มีการประท้วง ปะทะมีคนเจ็บ ล้มตายเกือบทุกวัน ประเทศ Venezuela แยกสองขั่ว มีสองประธานาธิปดี ฝั่ง Juan Guaidó ก็สามารถเรียกประชาชนที่ต้องการการเปลี่ยนแปลงเพราะปัญหาเศรษฐกิจ Hyperinflation และความยากลำบาก คนตกงาน ไม่มีอาหารกิน ออกมาประท้วงได้จำนวนมากหลายหมื่นตามท้องถนนและสถานที่ต่างๆ แถมยังได้กระแสสนับสนุนจากหลายประเทศ ทั้งยุโรป และสหรัฐ ด้าน Nicolas Maduro ยังครองอำนาจ กำลังทหาร บวกได้การสนับสนุนจาก รัสเซีย ประเ ด็นน่าสนใจจากรายงานการวิเคราะห์นี้คือ Venezuela อาจจะไม่จบง่ายๆเพราะมาถึงจุดที่ประชาชนเหลืออด แน่นอนว่า Juan Guaidó อาจจะล้มเหลว แต่ก็จะมี คนต่อๆไป กล้าขึ้นมาท้าทายอำนาจของ Nicolas Maduro เพราะได้เห็นว่าประชาชนจำนวนมากและชาติประชาธิปไตย อย่างสหรัฐ ยุโรป หนุนหลัง อีกประเด็นเป็นเรื่องสงครามตัวแทน ระหว่างสหรัฐ และรัสเซีย(+จีน+บราซิล) ซึ่งรัสเซียไม่ต้องการสูญเสียอิทธิพล ในทวีป(ด้านพันธมิตรและจุดยุทธศาสตร์ทางการทหาร)และผลประโยชน์ในอุตสาหกรรมน้ำมัน จำนวนมากใน Venezuela ซึ่งเชื่อกันว่า ถ้ามีการปรับปรุงแท่นเจาะหรือลงทุนเทคโนโลยีใหม่ Vene

สถานการณ์ภาคอสังหาฯออสเตรเลีย

หน้าที่ของเราคือ หาข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อเตรียมตัวรับมือกับ risk ที่อาจจะเกิด แน่นอนว่ามันอาจจะเกิดหรือไม่เกิด เกิดหนักเกิดเบาอันนั้นก็คงต้องเป็นเรื่องของอนาคตสำหรับส่วนตัวผมไม่คาดเดา แต่เน้นการเตรียมพร้อมรับมือมากกว่า ที่น่าสนใจคือตั้งแต่ปลายปี 2018 ภาคอสังหาของออสเตรเลีย ดูเหมือนจะเป็นประเด็นร้อนที่มีการกล่าวถึงหนักขึ้นเรื่อยๆ มาพร้อมตัวเลขราคาอสังหาในเมืองใหญ่ เช่น ซิดนีย์ ที่ถดถอยตกลงราวๆ -20% ที่น่าตกใจคือตั วเลขจากนักวิเคราะห์บางกลุ่มที่ออกมาประมาณว่า ตัวเลขการกู้เงินเพื่อผ่อนบ้านมีจำนวนไม่น้อยที่ประสบกับปัญหา และมีตัวเลขการเพิ่มของผู้กู้/จำนองบ้านรอบ 2 สิ่งที่หนักไปกว่านั้น กูรูมองว่าบ้านหลายแสนหลังที่ราคาตกลงหนักต่อเนื่อง แม้เจ้าของบ้านจะขายบ้าน ที่ราคาตลาด ณ ปัจจุบัน ยังต้องติดหนี้ธนาคารผ่อนชำระยอดเงินต้นต่อ ผมไม่ลงตัวเลขที่ประเมินเพราะเดียวจะ panic อยากทราบลองดูในคลิปรายการ 60 Minutes Australia ซึ่งนำเสนอประเด็นปมปัญหาในภาคอสังหาของออสเตรเลีย ทั้งเรื่องอาคาร ample tower ที่เกิดร้าวหลังเปิดได้ไม่ถึงปี จนต้องอพยบคนออก ทำให้นักลงทุนจำนวนมากขาดทุนหนัก และปัญห

Robust Asset Allocation for Robo-Advisors

วันนี้นั่งหาบทความเกี่ยวกับการทำ RoboAdvisor ไปเจอหลาย paper ที่น่าสนใจ แต่อันหนึ่งที่ชอบสุดคือ paper ของ Amundi Asset Management เขียนเรื่อง Robust Asset Allocation for Robo-Advisors paper นี้ค่อนข้างยาว 70 กว่าหน้า ผู้วิจัยแนะนำแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของพัฒนา Robo-Advisor ซึ่งนิยามปัจจุบันคือการทำ automated portfolio management แต่หลายเจ้ายังใช้คน( human-based ) เพราะมองว่า portfolio optimization เป็นงานที่ยากโดยเฉพาะเมื่อต้องเผชิญก ับภาวะความไม่แน่นอน และความผันผวนของตลาด ประเด็นหลักๆพูดถึง - เทคนิคและข้อจำกัด mean-variance optimization ,การสร้างพอร์ตให้เกิด maximum Sharpe ratio (risk/return trade-off ) แบบเดิม การ overfit ของโมเดลกับ data ในอดีต ที่ทำให้การ optimize น้ำหนักของโมเดล ไม่สามารถทำงานได้ดีในภาพตลาดที่แตกต่างจากอดีต ส่งผลให้พอร์ตมีความผันผวน - การทำ hedging portfolios ,การเลือก asset ในจากค่า ความสัมพันธ์(correlation) เพื่อทำ diversification - นำเสนอเรื่อง portfolio regularization แก้ข้อจำกัดของ MVO portfolio แบบเดิมโดยกล่าวถึงการใช้ L1 และ L2 Regularization

Block Battle – Who’s The Next Satoshi

ออกตัวก่อนว่าบทความนี้ไม่ได้เกี่ยวกับการเทรด bitcoin (กลัวจะมีคนเข้าใจผิด) แต่ผมจะมาแนะนำรายการที่มีโอกาสได้ดูสุดสัปดาห์นี้ ที่ชื่อ Block Battle ให้พวกเราได้ติดตามกัน Block Battle เป็นรายการโชว์ของเกาหลีใต้ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี Blockchain ซึ่งรูปแบบเหมือนรายการประกวดไอเดียธุรกิจ แบ่งเป็นการนำเสนอแนวคิดและโปรเจคที่พัฒนาจริง ทำงานได้จริง รับผู้ร่วมแข่งขันจากทั่วโลก ทุกระดับตั้งแต่ นักศึกษา นักพัฒนา ยันผู้ประกอบกา ร startup แบ่งการแข่งเป็นรอบๆ เริ่มจากรอบแรกการคัดเลือก(ตรวจสอบรายละเอียดว่าทำงานได้จริง) รอบ Pitch ต่อกรรมการ และรอบ Battle แข่งนำเสนอ paper เชิงเทคนิค บวกกับมีคะแนนโหวตจากทางบ้านตามสไตล์เกาหลีอีกด้วย รายการปนภาษาเกาหลีใต้และภาษาอังกฤษ มีซับ eng ให้อ่าน ทำให้พอชมได้ สิ่งที่ชอบ กรรมการเก่ง มีความรู้ลึกดีมาก ไม่ได้มโนหรือรู้แบบตื้นๆและมาพูดให้ความเห็นแบบทั่วไป แถมมีครบทุกด้านทั้งด้านผู้เชี่ยวชาญสายพัฒนา ด้านการตลาด ด้านของสายการเงิน(investment fund) ตรงนี้ทำให้ผู้ชม ได้มุมมอง แง่คิดและได้ประสบการณ์ เพิ่มระหว่างชมการแข่งไปอีก สนใจดูออนไลน์บน youtube ได้มีซีซั่นแร

ข้อจำกัดที่ควรรู้ก่อนเริ่มเทรด

ปัจจุบันมี email ถามเรื่องการเลือกใช้ระบบเทรด และกลยุทธ์การเทรดเยอะมากๆ หลายคนเจอระบบเทรดแบบต่างๆที่มีการโฆษณา มีการกล่าวถึงมากมาย บางก็ลองแล้วไม่รุ่ง ลองแล้วยังขาดทุนและไม่สามารถสร้างผลตอบแทนที่จริงจังได้ ปัญหามันไม่ได้อยู่ที่ระบบเทรดไม่ดี หรือตัวเราไม่เก่ง ไม่มีความสามารถเสมอไป บ่อยครั้งอาจจะเกิดจากความไม่เหมาะสม ของตัวเราที่มีข้อจำกัดแตกต่างเฉพาะ ทำให้ไม่สามารถใช้ระบบเทรดหรือกลยุทธ์ตามคนอื่นๆ แล้วจะได้ผลลัพธ์ที่ดี เหมือนกัน ดังนั้นวันนี้เอาประเด็น "ข้อจำกัด" มาอธิบายให้ลองฟัง และคิดตามกัน เพื่อจะได้พิจารณาข้อจำกัดในตัวเรา แล้วใช้ข้อมูลเหล่านั้นวางแผน เพื่อพัฒนาระบบเทรด ที่มีรายละเอียด เลือกใช้กลยุทธ์ได้เหมาะกับตัวของเราเอง รับฟังได้จาก  # tradertalk  ep4 :ข้อจำกัดที่ควรรู้ก่อนเทรด https://www.youtube.com/watch?v=kJ4ANbvnyWg

staggered stop-loss strategy

เช้านี้นั่งอ่านบทความเกี่ยวกับ money management ไปเจอกลยุทธ์ด้าน exit strategies หนึ่งชื่อ staggered stop-loss strategy วิธีการไม่มีอะไรซับซ้อน แต่น่าสนใจตรงใช้ profit ที่เกิดมาปรับส่วนของ risk per trade ให้ขยับขึ้นลงแปรผันไปตาม ราคา asset ที่เพิ่มขึ้นตามช่วงเวลา ไอเดียนี้หยืดหยุ่นกว่า volatility based stoploss เพราะคำนวณง่าย และสามารถประยุกต์ใช้กับการเทรดสินค้า แบบกลุ่มที่มีความสัมพันธ์(correlation)ระหว่างกัน แต่มีระดับความผันผวนมีระ ดับต่างกัน ได้อีกด้วย ลองอ่านรายละเอียดจากภาพ (capture มาจากเอกสาร ไม่มี link) ปล. อีกอันที่น่าสนใจคือเขาเขียน ภาพการวาง stoploss แบบกราฟ payoff diagram ของ options ตรงนี้ดูอธิบายไอเดียได้เห็นภาพดี