ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ global macro

Principles for dealing with the changing world order

  ได้อ่านหนังสือ Principles for dealing with the changing world order ของ คุณ Ray dalio อยากเขียนบันทึกไว้ ถึงประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจ เกี่ยวกับวงจร The Big Cycle ที่นิยาม state การเติบโต ,รุ่งโรจน์สูงสุดและถดถอย (อำนาจและเงินตรา)ของจักรวรรดิต่างๆ เช่น Dutch , British , U.S. , China , Japan , Russia เป็นต้น โดยเฉลี่ยของจักรวรรดิราวๆ 250 ปี และมีช่วงเวลาซ้อนทับเปลี่ยนผ่าน 10 ปี, หนังสือโฟกัสที่ปัจจุบันด้วยกับการต่อสู้ระหว่างมหาอำนาจเก่ากับใหม่และการเปลี่ยนอำนาจที่กำลังเกิดจาก US ไปสู่ China ตัวชี้วัด 8 ตัวที่เขาใช้ในการศึกษา ติดตามวงจร The Big Cycle ทั้ง 3 ช่วง(The Rise, The Top และ The Decline ) ของแต่ละจักรวรรดิหรือประเทศ ก็น่าสนใจ ได้แก่ 1 การเป็นศูนย์กลางทางการเงินและเศรษฐกิจ (Markets & Financial Center) 2 นวัตกรรมและเทคโนโลยี (Innovation & Technology) 3 การศึกษา(Education) 4 กำลังทหาร (Military Strength) 5 ความสำคัญของสกุลเงินในฐานะเงินทุนสำรอง Reserve Currency Status 6 ผลิตผลทางเศรษฐกิจ Economic Output 7 ส่วนแบ่งการค้าขายในตลาดโลก Trade Strong 8 ความได้เปรียบในการแข่งขันในต

มุมมองเศรษฐกิจ 2023 จาก Stan Druckenmiller

 ไปอ่านเจอบทความข่าวนี้ทางบลูมเบริก รู้สึกน่าสนใจดี เป็นมุมมองและคำทำนายตลาดปี 2023 ล่าสุดนี้จาก คุณ Stan Druckenmiller , ผู้จัดการกองทุน Duquesne Family Office มหาเศรษฐีพันล้าน วัย 69 ปี คนดังที่เรารู้จักกันดี สรุปใจความสำคัญคือ 1. ตอนนี้สถานการณ์กำลังอยู่ปากเหว ของการเกิด Recession ในเศรษฐกิจสหรัฐ ซึ่งน่าจะมาแน่และอาจจะเกิดแบบ Hard landing ที่สำคัญคุณ Druckenmiller คาดว่าจะเกิดในไตรมาสนี้ด้วย Q2/2023 ปัจจัยแวดล้อมเป็นสัญญาณสำคัญ ที่เขายกมา เช่นการถดถอยของยอดขายและการตกต่ำของกำไรในธุรกิจต่างๆเช่น ค้าปลีก และอื่นๆ ,ยอดอัตราการว่างงานที่เพิ่มขึ้น, การเกิดปัญหาสภาพคล่องและความเสี่ยงจะล้มละลายในธนาคาร regional banks หลายแห่ง,   ส่วนด้านความรุนแรง คุณ Druckenmiller ไม่ได้ฟังธงว่าจะหนักแบบตอน subprime 2008 แต่เขาก็มองว่าไม่ควรประมาท คำแนะนำของเขาคือ ควรปกป้องพอร์ต เพราะสภาวะเศรษฐกิจไม่ปกติ ไม่มีแนวทางใดที่จะการันตรีความปลอดภัยสูงสุด พอร์ตของเขาเองเน้นการผสม (ไม่ได้เน้นสินทรัพย์เดียว, หรือเน้นเดิมพันกับทิศทางราคาหุ้น(Long/short) ด้านใดด้านหนึ่งเป็นหลัก ) 2. แนวทางจัดพอร์ตแบบผสมของเขาก็มีทั้ง

ทำความรู้จัก Gold ETF/ETC

อีกหนึ่งทางเลือกในการสะสมทองคำเพื่อบริหารพอร์ต ในกรณีต้องการเทรดทองคำในรูปแบบ ETFs ที่เป็นสกุล usd และมีสภาพคล่องสูง ตลาดหุ้นสหรัฐมี Gold ETF ไม่น้อยเป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับ เทรดเดอร์ที่เปิดบัญชีเทรดในตลาดอเมริกา(Global Trading account) เพราะ ในตลาดหุ้นสหรัฐ Gold ETF ที่เปิดให้เทรด มีหลายเจ้าและส่วนใหญ่จะมีสภาพคล่องที่สูง สามารถเทรดได้ในเวลากลางคืนช่วงเดียวกันกับตลาดสหรัฐเปิดทำการ ซึ่งเป็นเวลา active ของราคาทองคำโลก และ Gold ETFs เทรดแบบ spot product ไม่มีการใช้ leverage ถือครองยาวได้ ไม่มีเรื่องค่าธรรมเนียมข้ามคืน แต่มีค่า Expense Ratio รายปีเฉลี่ยราวๆ 0.1 - 0.60%(ค่าดูแลการถือครองทองคำ physical และบริหารกองทุน) นอกจากนี้ด้วยความที่เป็น Gold ETF ระดับโลก กองทุนมีขนาดใหญ่และมีความน่าเชื่อถือมาก, ที่สำคัญปัจจุบันหลายกองทุน กำหนดราคาต่อหน่วยไม่สูง และมีค่า Fee ต่ำกว่าอดีต โดยบางกองทุนที่ออกมาช่วงหลัง จะมีทั้งแบบ ถือทองคำอย่างเดียว และแบบ Smart beta gold ETFs ผสมทองคำและสินทรัพย์อื่น เช่น currency เพื่อบาลานซ์ระดับความผันผวนตามสภาพตลาดด้วย ด้วยความที่ Gold ETFs มักเป็นนักลงทุนรายใหญ

ปิดตำนาน Credit Suisse

จบไปเป็นที่เรียบร้อย หลังจาก UBS ได้เข้าซื้อกิจการ เป็นการควบรวมธุรกิจในมูลค่าต่ำสุดๆ $3.25 billion เฉลี่ยที่ 0.76 Swiss francs ต่ำกว่าราคาปิดตลาดวันศุกร์สัปดาห์ก่อนหน้า ถึง -60% (โดยมีธนาคารกลางสวิตเซอร์แลนด์เป็น แม่สื่อผู้ดำเนินการ เหตุผลหลักคือการเรียกความเชื่อมั่นคืน) ซึ่งไม่น่าเชื่อหุ้นธนาคารขนาดใหญ่อันดับต้นของยุโรป (อันดับ 2 ของสวิตเซอร์แลนด์) จะกลายโดนซื้อด้วยคู่แข่ง ในมูลค่าต่ำกว่าดอลลาร์ (กลายเป็น peny stock ) มีทั้งช่วงรุ่งโรจน์และช่วงที่ตกต่ำหลังปี 2010 เป็นต้นมาที่โดนทั้งเรื่องจ่ายค่าปรับ ในการทำผิดระเบียบและกฏหมาย เช่น money laundering , tax fraud,toxic securities abuses ในอเมริกาและยุโรป, โดนหนักสุด $2.6bn กรณีช่วยเศรษฐีอเมริกันฉ้อโกงภาษี ข่าวลือด้านลบ ที่โยงกับกลุ่มอิทธิพลธุรกิจสีเทา และนักการเมืองประเทศต่างๆ รวมถึงการโจรกรรมข้อมูลทางธุรกิจ corporate espionage scandal, รวมถึงการขาดทุนจากการปล่อยกู้ให้กับธุรกิจล้มละลาย เช่น Archegos Capital Management ของ Bill Hwang ที่ขาดทุนจากการเทรดอนุพันธ์ ก่อนจะล้มละลายซึ่งธนาคาร CS โดนไป -5.5 billion และขาดทุนจากการปิดกองทุนบริห

ทำความรู้จักกับ Stagflation ผ่านวิกฤติเศรษฐกิจของสหรัฐ(1970s)

  นำเรื่องของ Stagflation มาเล่าให้ฟังครับ ,พอดีมีโอกาสได้ไปอ่านเจอบทความจาก paper หนึ่งชื่อว่า The Supply-Shock Explanation of the Great Stagflation ของ Princeton University เขาเรียบเรียงและเล่าเหตุการณ์ ช่วงเศรษฐกิจถดถอยและการเกิดเงินเฟ้อสูง ตอนยุค 1970 - 1983 ซึ่งเป็น 13-14 ปีแห่งความ chaos ทางเศรษฐกิจมากมาย , เริ่มต้นจากนโยบายของ Nixon ที่ทำให้ค่าเงินดอลลาร์อ่อน+การตั้งกำแพงภาษี, มาเจอปัญหา supply shock ปี 1973 จากราคาน้ำมันที่เพิ่งสูงกว่าปกติ 300% ข้ามคืนหลังจากประเทศตะวันออกกลาง รวมกลุ่ม OPEC และบอยคอตส่งน้ำมันให้ชาติสหรัฐและพันธ์มิตรที่สนับสนุน อิสราเอล ในสงคราม Arab–Israeli War , และเกิดซ้ำ oil crisis อีกรอบช่วง 1979 จากการสหรัฐและชาติสมาชิกคว่ำบาตรอิหร่านในช่วง ปฏิวัติอิหร่าน (Iranian Revolution) ทำให้ supply น้ำมันจากอิหร่านหายไปจากตลาด ด้านเศรษฐกิจตอนนั้นถดถอยหนัก, คนว่างงานจำนวนมาก, ราคาสินค้าแพง และระดับเงินเฟ้ออเมริกาที่ขึ้นไปจุดสูงสุดถึงระดับ 13%, การเข้ามาแก้ไขด้วยยาแรงของ Paul Volcker หลังจากเปลี่ยนประธานเฟดมา 3 คน ซึ่งในปี 1981 มีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยไปถึง 20% , พันธ์

บทเรียนหายนะวิกฤติเงินเฟ้อ | The German Hyperinflation Crisis

  ผมมีโอกาสได้อ่านหนังสือชื่อ When Money Dies ของคุณ Adam Fergusson , เป็นหนังสือเกี่ยวกับภาวะ Hyperinflation ช่วงปี 1923 ที่เกิดในประเทศเยอรมนี ภายหลังแพ้สงครามโลกครั้งที่ 1 , ประเทศที่ยิ่งใหญ่ เต็มไปด้วยทรัพยากร และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ,ค่าเงินที่มั่นคง หลายร้อยปี , ต้องมาเจอวิกฤติจนด้อยค่ากลายเป็นแค่เศษกระดาษ ในช่วงไม่กี่ปี สมกับคำโปรยที่ว่า เมื่อเงินตาย จริงๆซึ่งสร้างผลกระทบต่อประชาชนทั่วไป.อย่างมากมาย, หลายเรื่องที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องกับ inflation ผมเลยลองทำสรุปสั้นๆ ในส่วนของการเกิดภาวะ Hyperinflation มาเล่าให้ฟัง เพื่อเป็นการเรียนรู้ความรุนแรง และความเลวร้ายสุดโต่งของภาวะเงินเฟ้อแบบ extream สนใจลองเข้าไปฟังได้ที่ link ด้านล่างครับ, แต่ถ้าอยากเรียนรู้ลึกๆก็แนะนำหนังสือเล่มนี้เลยจริงๆ https://youtu.be/nIsZVJ_pTCs

Global Inflation Q1/2022

  ภาพรวมทั้งโลก theme เรื่อง inflation ยังมาแรง ระดับเงินเฟ้อสูงต่อเนื่อง รัสเซีย 16.7% , สหรัฐ 7.9%, เยอรมันนี 7.3% ,ญุี่ปุ่น 0.9% ส่วนค่าเงิน Rubble,USD,EUR,JPY ก็วิ่งไปคนละทิศทาง เช่นเดียวกับมาตรการและนโยบายการเงินของธนาคารกลาง แต่ละประเทศ ปีนี้ นวค. มองว่าจะเป็นอีกปีที่ เศรษฐกิจโลกจะเกิดความ chaos มากที่สุด จากปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่เกิดขึ้น ยังไงก็ไม่ควรประมาท ,ทำพอร์ตให้ anti fragile เหมือนที่คุณ nasim taleb แนะนำไว้นั้นน่าจะดีที่สุด ข้อมูลจาก @charliebilello

มุมมองของ Howard Marks กับ Inflation Risk

  ผมกำลังอ่าน Mastering The Market Cycle ของคุณ Howard Marks แห่ง Oaktree Capital กองทุนขนาดใหญ่(AUM 158 Billion)ที่เก่าแก่อีกเจ้าของสหรัฐ(ก่อตั้งปี 1995) ทำให้พอเห็นสัมภาษณ์ของคุณ Howard Marks เกี่ยวกับ Inflation ในรายการ Bloomberg เลยอยากบันทึกเก็บไว้และแชร์ต่อให้น้องๆเทรดเดอร์ เพื่อว่าจะมีประโยชน์ในการรับมือภาวะความเสี่ยงที่จะมาถึง - ที่ความคิดเห็นของคุณ Howard Marks น่าสนใจเพราะเป็นคนที่เคยบริหารพอร์ตของ Citicorp ช่วงวิกฤติเงินเฟ้อสหรัฐในอดีต (1978-1980) -เขาให้ความเห็นว่าปัจจุบัน เราควรกังวลเกี่ยวกับ inflation , ระดับ inflation ที่มากกว่า 2% จะเป็นสิ่งที่มากเกินควร,เกินต้องการ -คุณ Howard Marks บอกว่า High Inflation มาพร้อม High Interest rate กระทบทำให้ชะลอการโต asset price บางกลุ่มเช่น หุ้น และเขาเห็นด้วยว่าควรปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย หลังจากดอกเบี้ยต่ำเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจมาหลายปี ,การฟื้นของเศรษฐกิจเริ่มมีสัญญาณดี โดย Fed ควรระวังและจัดการไม่ให้เกิด Hyper inflation ระดับเงินเฟ้อที่สูงเกินไป -แต่คุณ Howard Marks มองว่า inflation สหรัฐคงไม่เลวร้ายแบบอดีตช่วงปี 1979 (เพิ่มสูง 6-7

Historical Parallels to Today’s Inflationary

วันนี้ผมได้อ่านบทความฉบับหนึ่งจาก blog ของทีมที่ปรึกษาเศรษฐกิจของรัฐบาลสหรัฐ whitehouseCEA เขาเขียนถึงประวัติการเกิด Inflation ไว้น่าสนใจมากและยาวมาก ประเด็น infaltion ที่สหรัฐตอนนี้มีการถกเถียงและวิเคราะห์กันมากและหลากหลาย ในมุมต่างๆ บทความนี้เขียนโดยนักวิชาการสายรัฐบาล แต่ก็มีข้อมูลอดีตที่เขารวบรวมไว้ได้ละเอียดมาก (มากพอกับในหนังสือ Big Debt Crises ของ Ray Dalio เลย) รายละเอียดเยอะมากไม่ขอแปลทั้งหมด แต่สิ่งที่น่าสนใจคือการเกิดภาวะเงินเฟ้อสูงในอดีตตั้งแต่หลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 บทความนี้นำเสนอมีทั้งหมด 6 episode หลายครั้งเกิดจากเหตุไม่ปกติของ supply ในระบบ (Supply chain disruption) และโยงไปกับต้นทุนการผลิตเช่น ภาวะราคาน้ำมัน ที่สูงจากการขาดแคลนเป็นต้น รวมถึงการเกิดสงครามใหญ่ เช่นสงครามเกาหลี, สงครามอิรักบุกคูเวต เป็นต้น Episode ล่าสุดที่ระดับ CPI ขึ้นมาถึง 5% เป็นช่วงปี 2008 ที่มีการปรับขึ้นของราคาน้ำมัน แบบฉับพลันจาก $70 ไปจุดสูงสุด $140 ในเวลา 2 เดือนเท่านั้น ซึ่งสาเหตุต่างๆทำให้เกิด demand and supply chain disruptions ที่รุนแรงและมีผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้ CPI พุ่ง

Global Inflation Data

  สินทรัพย์พวกปกป้องเงินเฟ้อเข้าภาวะขยับและทรงกันมาสักระยะ โดยเฉพาะทองคำค้างในโซน 1780 จากสัปดาห์ที่แล้ว สัปดาห์นี้ยังนิ่งอยู่ ในตลาดสหรัฐ ประเด็นเงินเฟ้อก็เป็นประเด็นใหญ่ ที่ทั้งสื่่อและนวค. กำลังพูดถึง โดยเฉพาะตัวเลขระดับ 5% ที่น่าจะมาถึง ล่าสุดมีอดีต รมค.คลังอย่างคุณ ลอว์เรนซ์ ซัมเมอร์ส ออกมาให้ความคิดเห็นเงินเฟ้อว่าปีนี้ ปลายปีโอกาสไป 5% เช่นเดียวกันการน่าจะได้เห็นทิศทางของผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐในแนวโน้มขาขึ้น เขามองว่าตลาดการเงินอาจจะปั่นป่วนได้เช่นกัน ออกมาตรงข้ามกับนักเศรษฐศาสตร์ และกูรูหลายท่าน เช่น คุณ เจเน็ต เยลเลน ที่ว่าน่าจะเป็นภาวะเงินเฟ้อชั่วคราว ไม่นานก็ผ่านไปเข้าภาวะปกติ ภาพข้อมูลจากคุณ charlie bilello ข้อมูลเงินเฟ้อ CPI(%YoY)แต่ละประเทศ เราจะเห็นความแตกต่างค่อนข้างมากทีเดียว ต่ำสุดเป็น ญีุ่ปุ่น -0.01% (ถึงติดลบเลย) ใครจะไปคิดว่าปีนี้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกแต่ดูเหมือนจะไม่ได้ช่วยอะไรกับการขยายตัวของเศรษฐกิจเท่าไหร่แบบที่หวังเมือ 4 ปีก่อนเมื่อโดน covid เข้าไป ส่วนสิงค์โปรใกล้บ้านเรา อยู่ที่ 2.4%, ฟิลิปินที่ 4.5% ส่วนสหรัฐนี้พุ่งไป 5% ขยายตัวแรงมากจากหลังช่วงเปิดเศรษฐกิจรอบใ

THE NEXT LEG OF THIS BULL MARKET

  S&P500 ล่าสุดนี้ recover กลับมาได้เกือบหมด หลังจากลงไปช่วงต้นสัปดาห์กับความกังวลจากเงินเฟ้อและนโยบายของ Fed , ล่าสุดมีหลายบทความ ที่กูรูต่างประเทศเขียนถึง การปรับเพิ่มขึ้นของ ตลาดหุ้นสหรัฐ ในอนาคต ว่าจะสามารถไปต่อได้หรือไม่ ? มีบทความหนึ่งน่าสนใจชื่อ THE NEXT LEG OF THIS BULL MARKET , ของคุณ Ted Lamade โดยสรุปเขามองว่าการขับเคลื่อนตลาดขาขึ้นในอนาคตยังเกิดได้ ในลักษณะบริษัทต่างๆที่นำเอา Technology มาใช้ใน2-3 ปีข้างหน้า น่าจะเพิ่ม productivity และลดต้นทุนการผลิต ตามมาด้วยการเพิ่มของรายได้ และกำไร ของบริษัท แต่มุมมองของคุณ Ted ต่างจากคนอื่นนิดตรงไม่ได้มองว่ากลุ่ม Tech ยังคงเป็นตัวจักรสำคัญ ในการเพิ่มของราคา, แต่เขามองหุ้นกลุ่ม value stocks ที่ปรับเปลี่ยนเอา technology มาใช้ในการทำธุรกิจแล้วสำเร็จ(leverage ด้วยเทคโนโลยี) จะกลายเป็นหุ้นขยายมูลค่าและเป็นตัวนำในตลาด Bull market รอบใหม่ โดยเขายังเชื่อว่าแรงส่งจาก economic growth, อัตราดอกเบี้ยขาขึ้น, และการอ่อนค่าของ USD จะยิ่งช่วยทำให้หุ้นเหล่านี้เติบโตมากไปอีก สุดท้ายคงต้องติดตามกันต่อไปครับ อ่านฉบับเต็ม https://tedlamade.substack.co

Are We In a Stock Market Bubble? by Ray dalio

  บทความนี้คุณ Ray dalio ชวนให้ตั้งคำถาม และสอนวิธีคิดสไตล์ Bridewater ให้เราดูด้วย ผมอ่านจบคิดว่ามันน่าจะมีประโยชน์เลยอยากแบ่งปันโน๊ตสรุปของบทความนี้ โดยคุณ Ray Dalio นำเสนอ bubble indicator ระบบที่เขาพัฒนาจากประสบการณ์ตรงกว่า 40ปีในตลาดและจากการศึกษาข้อมูลในอดีต บทความนี้เขายกตัวอย่าง US stocks เริ่มต้นคุณ Ray ตีกรอบนิยามของ Buble == unsustainably high price โดยเขาจะวัดจาก 6 ตัวแปรได้แก่ -How high are prices relative to traditional measures? (momentum) -Are prices discounting unsustainable conditions? (price discounting) -How many new buyers (i.e., those who weren’t previously in the market) have entered the market? (investor , people) -How broadly bullish is sentiment? (market sentiment) -Are purchases being financed by high leverage? (leverage) -Have buyers made exceptionally extended forward purchases (e.g., built inventory, contracted forward purchases, etc.) to speculate or protect themselves against future price gains? (Speculate / Heding in Future ,Options) -วิธีการวัดระดับ bu

Outlook on the market, Stanley Druckenmiller

  วันนี้ได้ฟังมุมมองของ Stanley Druckenmiller น่าสนใจดี ผมเลยเอาโน๊ตสรุปมาแชร์ 1. Stanley Druckenmiller มองเห็นความไม่ปกติที่เกิดปี 2020 ลักษณะการเข้าสู่ economic downturn แต่ภาวะเศรษฐกิจและพฤติกรรมตลาดที่แตกต่างจากกรอบยึดในอดีตโดยเฉพาะช่วงวิกฤติที่เคยผ่านมา เขาเตือนให้ระวัง(Buckle up) 2. ข้อมูลเศรษฐกิจขัดแย้ง ในช่วงภาวะวิกฤติ covid-19 จากนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจเพื่อพยุงไม่ให้ล้ม เช่นตัวเลขคนว่างงานสูงสุดรอบหลายปี แต่เป็นปีเดียวกันที่มีตัวเลขรายได้เฉลี่ยรายหัวเพิ่งสูงขึ้นแบบมีนัยยะ เป็นต้น 3. การเพิ่มของ Debt มหาศาลในช่วง 3 เดือนผ่านมา เพื่อแจกเงินอัดฉีดเงินกระตุ้นเศรษฐกิจ มากกว่า QE ช่วงวิกฤติการเงินที่ผ่านมา ขณะเดียวกัน การยืมเงินจากอนาคตจำนวนมากมาอุ้มบริษัท อัดฉีดประชาชน แต่การแก้ปัญหาการแพร่ระบาด covid ในสหรัฐยังอยู่ระดับย่ำแย่ ยังเป็นวิกฤติ ซึ่งการควบคุมทำได้ไม่ดีแตกต่างจากจีน และประเทศเอเซีย สุดท้ายรอผลสำเร็จจากวัคซีน ซึ่งยังเป็นสิ่งต้องใช้เวลา 4. Stanley Druckenmiller มีสถานะใหญ่ใน commodity ,เขามอง potential inflation , และมีสถานะ short treasury ตราบที่ Fed ยังกดอัตราดอกเบี้ยระดั

JPmorgan Outlook 2021: investment themes in a ‘new normal’

อ่านจบเห็นว่าน่าสนใจดี ผมเลยเอาโน๊ตสรุปมาแชร์ครับ - กูรู JPM เชื่อ Global economic growth ยังคงรีบาวน์ขยับไปต่อได้ในปี 2021 ท่ามกลางนโยบายแผนการกระตุ้นเศรษฐกิจชุดใหญ่ที่รัฐบาลแต่ละประเทศจะจัดออกมากระตุ้นเศรษฐกิจ แต่ผลบริการจัดการและควบคุมการระบาด รวมถึงประสิทธิภาพของวัคซีนที่เข้ามาแก้ปัญหา covid-19 ก็จะเป็นปัจจัยสำคัญในการฟื้นต้วของแต่ละประเทศ - JPM มอง Asia ว่าจะกลับมา Hot ดึงดูดเม็ดเงินเข้ามาในภูมิภาค เช่นเดียวกับการฟื้นของจีน ที่มีโอกาสเศรษฐกิจน่าจะกลับมาได้ดีกว่าสหรัฐและยุโรป -ด้าน Asian bonds ,emerging-market debt และ investment-grade bonds กูรู JPM มองว่ามีโอกาสเป็นที่ดึงดูดเม็ดเงินในปี 2021 - Asia's growth opportunities in a 'new normal' กูรู JPM มองว่า Asian equities มีโอกาสไปต่อ เพราะความได้เปรียบในการควบคุมการระบาด ช่วยให้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ กลับมาเป็นปกติได้เร็ว กว่าประเทศยังต้อง Lockdown ขณะที่ต้นทุนอัตรดอกเบี้ยต่ำทำให้ บริษัทขนาดใหญ่ ใช้โอกาสนี้ในการขยายธุรกิจ เพื่อเพิ่มการเติบโตในอนาคต , รายงานทำนายอนาคตปี 2025 จีนจะเป็น world's largest economy , ในเอเซีย

Inside the House of Money

 เมื่อวาน ผมพูดถึงหนังสือ Inside the House of Money วันนี้เลยอยากนำคลิปเก่าที่เคย รีวิวหนังสือ Inside the House of Money: Top Hedge Fund Traders on Profiting in the Global Markets ของ Steven Drobny มาแชร์อีกรอบ โดยคลิปนี้ผมรีวิวภาพรวมของหนังสือและไฮไลท์สำคัญ ประวัติผู้เขียน รวมถึง นำเอา Hedgefund manager สาย Global Macro economic 2 คนที่ให้สัมภาษณ์ไว้ได้น่าสนใจ มาสรุปให้ฟัง คือคุณ Jim Leitner แห่ง Falcon Management และ Scott Bessent แห่ง Bessent Capital เป็นการเรียกน้ำย่อย ให้พวกเราลองไปหาซื้อหนังสือเล่มนี้อ่านกัน ปล. เล่มนี้อ่านง่ายและได้ประเด็นแนะนำให้ลองหามาอ่านกันครับ ลองเข้าไปรับฟังได้ที่ https://youtu.be/Rd69II7_X_E

The Great Depression

วันนี้มีโอกาสได้ดู สารคดี Great Depression มีหลายประเด็นที่น่าสนใจ เลยอยากแนะนำให้ได้ดูกัน ผมสรุปประเด็นหลักมาให้ คราวๆดังนี้ -1914-1918 สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุด เศรษฐกิจถูกกระตุ้น กลับมาฟื้นตัวและขยายตัวมาก ช่วง 1920 บนแนวคิดอเมริกันดรีม ประชาชนมีเงินเก็บมีการใช้จ ่ายซื้อบ้าน ซื้อรถ(ยุคแรกของรถยนต์) ซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่นโทรทัศน์ เครื่องดูดฝุ่น -ราคาหุ้นเติบโตสร้างผลตอบแ ทนครั้งใหญ่ คนสนใจเข้ามาลงทุนใน wallstreet เช่นเดียวกับสถาบันการเงิน ทำให้เกิดการเฟื้องฟู คนส่วนมากอยากเข้ามาหาเงินจ ากตลาดกระทิง หุ้นเกือบ 80% ถูกไล่ซื้อราคาพุ่งสูงขึ้น นักลงทุนเริ่มใช้เงินกู้(lo an) เขามาดักซื้อหุ้นสะสมเพื่อห วังทำกำไร , ขณะเดียวกันธนาคารยินดีปล่อ ยกู้เพื่อหารายได้จากดอกเบี ้ย. สถาบันการเงินนำเงินกู้เข้า มาเทรดหุ้นเพื่อหากำไร -1929 ตลาดสหรัฐถึงจุดสูงสุดดัชนี  Downjone +218% นับจากปี 1922 คนต่างเชื่อมั่นแต่แล้วเศรษ ฐกิจเกิดชะลอตัว ยอดส่งออกสหรัฐลดลง , บริษัทเริ่มมียอดขายลดลงรุน แรง ผลประกอบการไม่ดีแบบที่คาดห วัง -ช่วงกลางปี 1929 เริ่มมีการพูดถึงการถดถอยทา งเศรษฐกิจ recession จนมาถึง 24/10/

ความไม่เป็นเหตุเป็นผลของตลาด

ราคาสินทรัพย์ เช่น หุ้น ทองคำ น้ำมัน ส่วนใหญ่ในภาวะไม่ปกติ มันจะยากที่จะหาความเป็นเหต ุเป็นผล(สิ่งที่เราเห็นตามส ื่อมันคือคำอธิบาย ผลที่เกิด) เพราะราคาตลาด(market price) มันเปลี่ยนแปลงไปตาม ความหวังในอนาคตของคนในตลาด  ทั้งด้านบวก(positive)และลบ (negative expectation) การพยายามไปหาคำตอบ หรือคำอธิบาย ให้ได้แท้จริงมันยาก ยิ่งพยายามจะไปคาดเดา ห รือพยากรณ์ว่าอนาคตจะเป็นอย ่างไรในภาวะแบบนี้ยิ่งยากไป อีก ช่วงนี้มีแต่คนถามเรื่อง ตลาดหุ้น ว่าทำไมวันนี้ราคาลง ทำไมพรุ่งนี้ขึ้น ส่วนตัวผมไม่มีคำตอบให้จริง ๆ ก็เทรดไปตามระบบ flow ไปกับสิ่งที่เกิด สังเกตและ ปรับตัววางแผนรับมือ สิ่งสำคัญคือ การไม่ใช้อารมณ์ เพราะช่วงนี้ อารมณ์ ถูกเล้าได้ง่าย สุดท้ายยิ่งหมกหมุ่น ยิ่งพยายามหาคำอธิบายหรือหา ความชัดเจน จะยิ่งทำให้เครียดก็จะนำมาซ ึ่งความผิดพลาด ยกตัวอย่างเคสของความไม่เป็ นเหตุเป็นผล กรณีช่วง 4 ปีที่แล้ว ราคาน้ำมัน WTI ลงมาจากปีก่อนหน้า $120 / บาร์เรลมาระดับต่ำสุด $27 /  บาร์เรล โดยปริมาณน้ำมัน 1 บาร์เรลเท่ากับ 159 ลิตร เมื่อเทียบราคากับ น้ำแร่ หรือ แม้แต่ ไวน์ เหล้าต่างประเทศ น้ำมันยังถูกกว่า แต่ตอนนั้นความก

Global Market Outlook 2020

ปี 2020 เป็นปีที่ท้าทายถ้าจำกันได้มีหลายกูรู หลายนักวิเคราะห์ นักเศรษฐศาสตร์ออกมาทำนายว่า ปี 2020 นั้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือเกิด down turn ในเศรษฐกิจสหรัฐหรือเศรษฐกิจโลกได้ ทำให้น่าจะต้องระมัดระวัง และวางแผนการจัดพอร์ตรับปี 2020 ด้วยความไม่ประมาท ดังนั้นก่อนเริ่มวางแผน จัดพอร์ตทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผมเอาข้อมูล Global Market Outlook จากสำนักต่างๆมาฝาก เพื่อช่วยให้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและใช้วางแผนกันครับ(แต่ไม่แปลให้นะครับ ทำการบ้านเอาเอง ส่วนสรุปผมจะเอาไปลงใน cway market outlook ต่อไป) 1. JP morgan https://www.jpmorgan.com/global/research/global-market-outlook-2020 2. Bank of America Merrill Lynch https://www.businesswire.com/news/home/20191203005803/en/Bank-America-Merrill-Lynch-2020-Market-Outlook 3.Morganstanley https://www.morganstanley.com/ideas/global-economic-outlook-2020 4.Invesco https://apinstitutional.invesco.com/home/2020-outlook-global-market-strategy-regional-outlooks 5.Goldmansachs https://www.goldmansachs.com/insights/pages/global-outlook-2020.