ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2011

เทคนิครับมือกับตลาดหุ้นขาลง

อาทิตย์ที่ผ่านมาดูจะเป็นอาทิตย์ที่เลวร้ายในชีวิตการลงทุนของใครหลายคน มีหลายท่าน email เข้ามาทักทายและขอคำปรึกษา ผมเองได้ให้คำปรึกษาที่เป็นกลางๆไป ด้วยความที่ไม่ยากฟันธงหรือชี้นำ ไอ้แบบที่จะให้บอกว่าซื้อเพิ่มถั่วเฉลี่ยเข้าไป ,ให้ติดดอยเพื่อรักษาต้นทุน หรือขายทิ้งล้างพอร์ต ผมคงไม่ทำผมเชื่อว่าเงินของท่าน ท่านควรมีวุฒิภาวะในการตัดสินใจได้เอง ถ้าผ่านจุดนี้ไปไม่ได้ โอกาสจะประสบความสำเร็จก็ยาก แต่ถ้าเราผ่านมันไปได้แล้ว ผมเชื่อว่าท่านจะได้รับประสบการณ์ที่มีค่าอย่างยิ่งในการลงทุน หลังจากดัชนีลดลงมา 100 กว่าจุดในเวลาไม่ถึง สองสัปดาห์ผมเชื่อว่ามันคงทำให้ใครหลายคนตื่นตระหนกได้ไม่น้อย โดยเฉพาะท่านที่เพิ่งเริ่มลงทุนได้ในช่วงตลาดขาขึ้น ยังไม่เคยผ่านวิกฤตหรือเหตุการณ์ตลาดขาลงมาก่อน ด้วยความคิดที่คุ้นเคยว่าตลาดหุ้นทำเงินได้ง่าย ลงไม่เยอะ ลงไม่นานเดี่ยวก็ขึ้น ชุดความคิดนั้นอาจจะใช้ไม่ได้อีกต่อไปในยาม ที่โลกอยู่ในช่วงเฝ้าระวังกับการกำลังเผชิญกับภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจทั้งทางฝั่ง ยุโรปและอเมริกา หลายคนยังคิดมองโลกในแง่ดีกว่ามันไม่น่าจะมาถึงบ้านเรา หรือคิดต่อไปอีกว่า น่าจะเป็นโอกาสของเอซียแต่ความเป็นจริงมันไม

STO (STOCHASTIC OSCILLATOR)

STOCHASTIC OSCILLATOR (STO) คือเครื่องมือที่เน้นไปที่การแกว่งตัวของราคาหุ้น โดยสามารถแสดงถึงลักษณะของราคาปิด ของหุ้น ตามแนวคิดที่ว่า ถ้าราคาหุ้นมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ราคาปิดย่อมมีการขยับตัวสูงขึ้นไปหา high ด้วย หรือในช่วงแนวโน้มขาลง ราคาปิดย่อมมีแนวโน้ม เข้าใกล้ low ของวันด้วย จึงมีการนำเอาสัดส่วนของราคาปิดเทียบมาใช้ในการคำนวณ STO เป็นเครื่องมือดัชนีราคาอีก ที่มีความไวค่อมข้างสูงนิยมในงานมาในตลาดที่มีการแกว่งตัวแบบไร้ทิศทางในกรอบเวลาแคบๆ จาก สมการ          %K คือ ค่า FAST STOCHASTIC OSCILLATOR         %D คือค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ของ FAST STOCHASTIC OSCILLATOR เราเรียกว่า SLOW STOCHASTIC OSCILLATOR การแปลความหมายและการนำไปใช้ การตีความของ STO สามารถจำแนกเป็นลักษณะต่างๆได้ดังนี้ - การดูค่าความอิ่มตัว Overbought และ Oversold เป็นการนำเอาค่าจาก STO มาใช้นิยามค่าความอิ่มตัวของแนวโน้มราคา โดย      Overbought คือช่วง 80 % - 100 %      Oversold คือ 20 % - 0 % โดยการใช้งานของ Overbought และ Oversold จะคล้ายกับ RSI คือในโซน Overbought ย่อมมีโอากาสที่จะเกิดการอิ่มตัวการซื้อ ถ้าราคาไม่สามารถทำ

ลาออกมาเล่นหุ้นอย่างเดียว ดีไหมครับ???

ขอนำคำตอบของคำถามจากน้องคนหนึ่ง ที่ส่งข้อความเข้ามาถามผมว่า "จะลาออกมาเล่นหุ้นอย่างเดียว ดีไหมครับ???" มาแชร์ให้เพื่อนๆได้อ่านกัน เพราะผมคิดว่าหลายคนที่เคยได้กลิ่นหรือลิ้มชิมรสของเงินจากตลาดหุ้นมาแล้ว ล้วนมีความคิดแบบนี้ 

Relative Strength Index (RSI)

RSI คือเครื่องมือดัชนีประเภท fast active oscillator ยอดนิยมในกลุ่ม momentum indicator ที่สามารถนำมาใช้พิจารณาการแกว่งตัวของราคาในช่วงกรอบจำกัด ราคามีความผันผวนหรือใช้สังเกตการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มราคาได้ดีอีกตัวหนึ่ง โดยที่นิยมใช้กันคือการดูค่า Overbought และ Oversold, ดู Crossovers หรือใช้ในการสังเกตการณ์เกิด divergence และ convergence ระหว่างตัวดัชนีและราคาหุ้น ปกติเรามักนิยมใช้ ค่า RSI 14 วันเป็นค่าปกติที่ใช้กัน แต่อาจจะมีการดัดแปลงค่าวันจากการทำการเก็บข้อมูลสถิติเพื่อทดสอบให้เหมาะกับรอบการแกว่งของหุ้นแต่ละตัวได้ เพื่อให้สัญญาณที่ใกล้เคียงกับพฤติกรรมของหุ้น ณ ช่วงเวลานั้นๆมากที่สุด การแปลความหมายและการนำไปใช้ การตีความของ RSI สามารถจำแนกเป็นลักษณะต่างๆได้ดังนี้ - การดูค่าความอิ่มตัว Overbought และ Oversold เป็นการนำเอาค่าจาก RSI มาใช้นิยามค่าความอิ่มตัวของแนวโน้ม เพื่อใช้บอกจังหวะการลงทุนโดย Overbought คือการอิ่มตัวขาขึ้น เกิดจากการซื้อมาก และ Oversold คือการอิ่มตัวขาลง เกิดจากการขายมาก โดยแบ่ง zone ของการอิ่มตัวได้ดังนี้          Overbought คือช่วง 70 % - 100 %          Ove