ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

ทำไมความรู้ด้านการเงินและการลงทุนจึงสำคัญในโลกปัจจุบัน

DW เป็นช่องสารคดีของเยอรมนี เขาทำสารคดีชื่อว่า How the rich get richer - money in the world economy ถ่ายทอดหลายประเด็นที่น่าสนใจมาก โดยเฉพาะปัญหาที่คนวัยเกษียณในยุโรปเจอ ในสารคดีเล่าเรื่องชายชนชั้นกลาง คนหนึ่งทำงานกว่า 40 ปี เกษียณได้เงินบำนาญก้อนหนึ่ง แต่ปัญหาคือ อัตราดอกเบี้ยติดลบ ทำให้ความฝันที่จะไม่ต้องทำงานนอนกินดอกเบี้ยวัยเกษียณแบบที่เคยเชื่อไว้ ไม่เป็นจริง แถมเจอดอกเบี้ยติดลบทำให้เงินก้อนที่มีถดถอยไปอีก , เมื่อมารู้ มาตระหนักตอนนีั ก็สายละเพราะทางเลือกไม่มากที่ปรึกษาการเงินแนะนำให้ไปซื้อสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยง เช่นหุ้น(stock) แต่ต้องจ่ายราคา premium ที่สูง พร้อมภาวนาให้ไม่เกิด economic downturn อีกประเด็นก็น่าสนใจ เพราะนโยบายผ่อนคลาย กระตุ้นเศรษฐกิจของ ecb อัตราดอกเบี้ยต่ำทำให้ คนมีเงิน(สารคดีเรียกว่าพวกนายทุนหรือคนรวย) ใช้เงินกู้ดอกต่ำ ไปไล่ซื้อ อสังหาริมทรัพย์ ดันราคาบ้านและที่อยู่ จนขึ้นสูงในช่วงหลังปี 2010 ปัญหา ตามมาคือ คนชั้นกลาง มนุษย์เงินเดือน ต้องการซื้อบ้านก็ต้องจ่ายในราคาที่แพง มหาศาล ตามด้วยการเป็นหนี้ระยะยาวกับธนาคาร(30-40 ปี) จุดนี้กลายเป็นความเสี่ย

บันทึกหุ้น Defensive stock และ REIT Q3/2019

ปีนี้มีแต่คนบ่นเรื่องการลงทุนในตลาดหุ้นไทย ราคาหุ้นส่วนใหญ่เจอแรงขายกดดันจนราคาถอยลงค่อนข้างหนัก ยิ่งถ้าผลประกอบการออกมาไม่ดีด้วยราคายิ่งดิ่งลงใหญ่ โดยเฉพาะหลายตัวในกลุ่ม อสังหา, ธนาคารและการเงิน ขณะที่ปัจจัยจาก โครงการ EEC ปีนี้ยังไม่ได้มีผลบวกเท่าไหร่ต่อราคาหุ้นที่เกี่ยวข้องเหมือนที่คาดหวังเอาไว้ ส่วนตัวพอร์ตปีนี้รอดได้ คาดปีนี้ return (กำไร+ปันผล) น่าจะปิดได้มากกว่า SET (return จากต้นปี +1.95%) เพราะต้นปีทำการปรับพอร์ต เปลี่ยนแผนมาเล่นเกมส์รับถือเงินสดมากพอควร+ เน้น Defensive stock (หุ้นธุรกิจปลอดภัย เช่น โรงไฟฟ้า, ประปา,สาธารณูปโภค)และ REIT ที่ปีนี้ทำผลงานค่อนข้างดี เนื่องจากชัดเจนคือกระแสเงินไหลเข้ากลุ่มนี้อย่างมาก ตั้งแต่ปลายปี 2018 , ที่น่าสังเกตกลุ่ม Defensive stock และ REIT ที่เคย low volatility ตอนนี้บางตัวค่า volatility ปรับสูงขึ้นอย่างมีนัยยะ บวกกับ volume การเทรดหุ้นกลุ่มนี้ส่วนใหญ่มากกว่าค่าเฉลี่ยค่อนข้างชัด ภาพแสดงราคาหุ้นจากต้นปี 2019 เส้นสีเหลืองนั้นคือ SET จะพบว่าราคาหุ้นกลุ่ม Defensive stock และ REIT มีผลตอบแทนบวกเหนือ SET แต่ขณะเดียวกัน volatility แตกต่างจา

How to read any Research paper

ผู้เขียนเขาสรุปมาจาก Andrew Ng's CS230 Lectures ซึ่งอธิบายแนวคิดของการอ่านและศึกษา research paper ละเอียดดี โดยเฉพาะ สำหรับคนทั่วไปที่ไม่เคยเขียน paper จะได้รู้ว่า ควรจะอ่านมันอย่างไร ซึ่งแนวทางนี้ประยุกต์ได้กับเกือบทุก paper สาขาต่างๆนะครับ แต่เนื้อหาในบทความนี้จะเน้นไปทาง Deep learning key สำคัญเรื่องความคาดหวังที่จะได้รับ ผมแชร์ paper ด้านการเงิน, การเทรดและการบริหารพอร์ต บ่อยบางคนเข้าใจผิด คิดว่าให้ไปลอกทำตามงานวิจัย ไปทำตามสูตรสำเร็จ จร ิงๆไม่ใช่เราใช้เวลาอ่าน paper เพื่อขยายฐานความรู้ อ่าน literature review และศึกษาจากสิ่งที่มีการทดลองวิจัย เรียนรู้จากสิ่งที่มัน fail เพื่อเราจะได้ไม่ต้องไปเสียเวลาเดินผิดทาง ดังนั้นการอ่าน paper มันจึงไม่ใช่แค่ไปหาทางลัด ทำตามเขา ลอกตัวแบบที่ผลวิจัยออกมาดีอย่างเดียว อันนั้นมันฉาบฉวยไม่เกิดประโยชน์ เพราะ paper งานวิจัยที่ดี นั้นมันมีอะไรให้เราเรียนรู้มากกว่านั้น อ่านฉบับเต็มจาก https://deeps.site/blog/2019/10/14/reading-research-papers-career-advice

Every company is a tech company(In the future)

อ่านบทความนี้แล้วก็รู้สึกว่ามันน่าสนใจ เพราะมันคล้ายกับหลายๆกูรูและนักวิเคราะห์ตปท. มองโดยสรุปความคิดเห็นไปเหมือนกันว่า อนาคตทุกบริษัทมันอาจจะกลายเป็น Tech Company แยกรายละเอียดประเด็นนี้ 1.กรณี อุตสาหกรรมเดียวกัน คือเอา Technology (ประเภท BigData, AI, Online(Internet), Mobile App) มาชิงความได้เปรียบในการแข่งขัน ในการสร้างผลิตภัณฑ์และบริการ รวมถึงการลดต้นทุน จุดนี้นวค.มองจะเป็นแรกกระตุ้นเกิดการนำ AI และเทคโนโลยีขั้นสูงไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น ค้าปลีก ยานยนต์ รับเหมาก่อสร้ าง อสังหา ธนาคารการเงิน,สุขภาพการแพทย์ ประกันภัย และอื่นๆ 2. ด้านการแตกไลน์ธุรกิจ พวก cashcow พวกใหญ่จะลงทุน/ควบรวมในบริษัทย่อยกลุ่ม Tech startup หรือแม้แต่การลงทุนผ่าน VC กรณีนี้เห็นเยอะมากในปัจจุบัน ยกกรณีของ WeWork ที่ดูเหมือนจะเป็นบริษัท commercial real estate แต่แฝงตัวในภาพของ tech company สุดท้ายมันกลายเป็นว่าทุกบริษัทต่างโฟกัส ทุ่มเงินทุนไปที่การพัฒนา Tech มาเป็นจุดขายหรือตัวนำ ทั้งเพื่อการอยู่รอด เพื่อการแข่งขัน เพื่อการเติบโตขยายธุรกิจไปทั่วโลก รวมไปถึง valuation ที่สูงริบ จนกลายเป็น tech company

ทรัมป์ยังเดาไม่ถูก

ไปเจอโพสนี้ของคุณ charlie bilelo ฮาตรึมกับ นำข้อมูลมาเผยย้อนรอยคำทำนายของ โดนัล ทรัมป์ กับการลงทุนในหุ้น apple ซึ่งต้นปี 2014 โดนัล ทรัมป์ สวมบทนักวิเคราะห์อัดกระหน่ำหุ้น apple ประเด็นก็คือ ก่อนหน้าทรัมป์แกพยายามจะล๊อบปี้/แสดงความเห็นออกสื่อต่อเนื่อง กดดันให้ iphone ทำจอใหญ่ (larger iPhone screen) พอ apple ยังคงแนวทางเดิม แกเลยจัดเต็มอัด apple พร้อมปิดท้ายบอกว่า เขาขายหุ้น apple หมดแล้ว (สมัย 2014 ทรัมป์ยังไมไ่ด้เป็นประธานาธิปดี ยังเป็นนักธุรกิจ นักลงทุนอยู่) ผลปรากฏว่า 5 ปี ผ่านมาราคาหุ้น apple +252% "I predicted Apple's stock fall based on their dumb refusal to give the option of a larger iPhone screen like Samsung. I sold my Apple stock."-Donald Trump, January 28, 2014 Total Return since: +252% อ้างอิงจาก https://twitter.com/charliebilel…/status/1182319341104173058

Quant in the 90s and the AI reinvention

ผมนั่งฟัง Curious Quant podcast ไปเจอสัมภาษณ์ Jim Creighton คนนี้เป็นอดีต CIO of Barclays Global Investors , เขามาถ่ายทอดประสบการณ์ Quant ใน financial markets ให้ฟังตั้งแต่ยุคเริ่มต้น จนถึงการเปลี่ยนแปลงที่มาพร้อมกับ AI ในยุคปัจจุบัน รวมไปถึงสิ่งที่เขาเชื่อว่า 10-15 ปีข้างหน้าโลกการเงินจะเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตอย่างมาก จากบทบาทของการนำ AI มาใช้ในงาน asset management Key take away อันหนึ่งจากแนวคิดของคุณ Cr eighton คือแกบอกว่า เส้นการแยก Fundamental และ Technical analysis มันจะบางลงเพราะทุกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ financial market ด้านต่างๆ จะถูกนำมาทำ Data Analysis เพื่อสร้างโมเดลในการตัดสินใจซื้อขาย หรือลงทุนในกลยุทธ์ต่างๆ ด้วยประสิทธิภาพและศักยภาพในการ คิดคำนวณของ AI ที่มันไม่มีข้อจำกัดเหมือนมนุษย์ เขามองว่าความซับซ้อนตรงนี้แหละ มันจะเป็น edge ที่ผู้เล่นรายใหญ่ในตลาดจะเอามาสู้กัน มันยาวสัมภาษณ์กว่า 50 นาทียังมีอีกหลายประเด็นให้ไปตกผลึกย่อยต่อได้เยอะ อยากศึกษาด้านนี้จริงจัง ลองไปฟังฉบับเต็มได้จาก https://share.transistor.fm/s/e3fe7fc6

ทักษะสำคัญของเทรดเดอร์

ผมมีโอกาสได้ไปช่วยรุ่นพี่ท ่านหนึ่งสัมภาษณ์เทรดเดอร์ เข้าทำงานในบริษัท คำถามหนึ่งผมถามเทรดเดอร์ว่ า อะไรคือทักษะสำคัญในการเทรด  ? คำตอบที่ได้หลากหลายมากตั้ง แต่ความเก่งในการอ่านกราฟแท ่งเทียน ยันความอึดในการนั่งหน้าจอค อมพิวเตอร์ จริงๆแล้วมันเป็นของการตัดส ินใจ(ในเวลาที่จำกัด+บนสถาน ะการณ์ที่ไม่แน่นอนและความก ดดันของผลกำไรขาดทุน) ทักษะตรงนี้ฝึกมากประสบการณ ์มากมันจะทำให้ดีและมีประสิ ทธิภาพ ที่สำคัญมันเป็น t ransfer learning ที่สามารถนำไปใช้ในด้านต่าง ๆได้ ประเด็นเดี่ยวกัน ย้อนกลับมาที่คำถามหนึ่งเมื ่อเช้า ถามว่าไม่ใช่กราฟเทคนิคคอลเ ทรด จะได้ไหม คำตอบคือได้แน่นอน ถ้าคุณมีเครื่องมือ ที่ช่วยวิเคราะห์ข้อมูลประก อบ"การตัดสินใจ" อย่างเป็นระบบ เป็นตรรกะ ไม่มีอคติทางอารมณ์ อคติทางความเชื่อ นอกจากนี้ต้องมีสิ่งเรียกว่ า Post-trading plan กระบวนการรับมือกับ outcome ที่เกิด ไม่ว่าจะผิดหรือถูก ต่อไป พวกนี้ต่างหากคือแก่นสำคัญ ที่เทรดเดอร์ใช้เวลาหลายสิบ ปีในการเรียนรู้ และพัฒนา edge ให้เกิดขึ้น ว่าแล้วก็ฝึกฝนกันต่อไป พัฒนากันต่อไปครับ ปล.ภาพประกอบจาก fidelity