ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ risk

Mania to Mania 2018

บทความนี้ของคุณ Michael Batnick เขาเขียนถึงความ mania ในปีนี้ ที่นักลงทุน นักเก็งกำไรได้เผชิญ เปิดเรื่องเขาพูดถึง cryptocurrency ที่ปลายปี 2017 ด้วยผลตอบแทนมหาศาลกลายเป็นความหวังใหม่ให้กับ นักลงทุนนักเก็งกำไรผู้ต้องการแสวงโชคตามกระแส แต่หลายสิ่งไม่ได้เป็นอย่างที่ฝัน เพราะแค่ปี 2018 ตลาด crytocurrency ก็เกิดภาวะถดถอยของราคาเหรียญคริปโตสกุลหลัก เช่น Ethereum ที่ Peak สุดขีดช่วงเดือนมค. 2018 ราคาบวกไปถึง 16,915% ด้วยเม็ดเง ินจำนวนมหาศาลที่ไหลเข้าไปในตลาดคริปโตช่วงปี 2017 แต่แล้วราคาก็กลับร่วงลงหนัก ถึงปัจจุบันเดือน กย. ราคาปรับลงถึง -90% จากจุด Peak ช่วงเดือน กพ. (แต่ยังสูงจากจุดเริ่มต้นถึง 2,000% )ทรงการถดถอยเกิดในเหรียบคริปโตตัวอื่นๆเช่นกันโดยเฉพาะกลุ่ม alter coin ทำเอานักเก็งกำไรนักลงทุนรายย่อยที่เพิ่งเข้าไปในตลาดขาดทุนหนักตามๆกัน แต่บางกลุ่มโดยเฉพาะนักลงทุนมือเก่าที่อยู่ในตลาดคริปโตมานาน มีต้นทุนต่ำยังเชื่อว่านี้มันคือการปรับฐานหรือทำกำไร ส่วนฝ่ายตรงข้ามคริปโต มีความคิดเห็นที่น่าสนใจหลายท่าน อย่าง warren buffett ให้ความเห็นช่วง 3 เดือนที่ผ่านมาว่า มันจะจบไม่สวย (“bad ending”)

Bear Market Checklist

ออกตัวก่อน ผมไม่ได้เน้นการคาดเดาทิศทางตลาดนะ ที่โพสนี้แค่นำเสนอข้อมูล ข่าวและบทวิเคราะห์ ไม่อยากให้เข้าใจผิด และที่สำคัญคืออยากให้พวกเราอ่านแล้วคิด วิเคราะห์ ด้วยตัวเอง บทความนี้เป็นข้อมูลจาก Steve Einhorn มือขวาของคุณ Lee Cooperman ปัจจุบัน Einhorn เขาเป็นผู้บริหารของ Omega Advisors(family office AUM $3.8 billion) เป็นนักวิเคราะห์เจ้าของเว็บ Disciplined Systematic Global Macro Views เขารวบรวมข้อมูล ปัจจัยที่ต้องติดตาม  สำหรับการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ตลาดหมี (Bear Market) แบ่งปันไว้ โดยการวิเคราะห์ก็ไม่ใช้ Bias หรือพยากรณ์มั่วๆอย่างเดียว เขามีกระบวนการ มีปัจจัยที่ติดตามและทำการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงข้อมูลมาตลอดปี ได้แก่ Problematic Inflation ,Hostile Fed ,Prospects of recession ,Investor sentiment และ Valuation ล่าสุดข้อมูลเป็นไปตามภาพที่เห็นปัจจัยต้องตระหนัก ติดตามอย่างใกล้ชิดคือ Hostile Fed และ Prospects of recession แต่ก็ยังไม่ถึงขั้นรุนแรง ลองอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมเข้าไปดู global macro view ได้จาก link ด้านล่าง ปล. ส่วนตลาดหมีจะมาเมื่อไหร่ อันนี้ไม่มีใครบอกได้ แต่ติดตามรั

ทำไม Over trading ถึงไม่ทำให้รวย

3 เดือนที่ผ่านมาทำ Project หนึ่งชื่อว่า Bot Over Trade คือสร้าง robot ให้มันเทรดแบบ Over trading ด้วย Leverage ระดับ 100:1 ในบัญชี standard โดยเป้าหมายจะพิสูจน์ประเด็น High Risk High Return มันไม่ work ระยะยาวให้น้องๆที่ร่วมฝึกเทรดด้วยกันดู อีกประการส่วนตัวโดนถาม แนวถากถางบ่อยมากว่าเทรดทีละ 0.01 lot มันจะไปรวยได้ยังไง มันต้องกล้าได้กล้าเสีย ดังนั้นเลยทำการทดลองนี้มาให้ดูว่ามันไม่ได้จำเป็นว่าต้องเทรด lot เล็กเสมอไป ม ันขึ้นกับการออกแบบ Risk Management อีกประการอยากแสดงให้เห็นว่าทำไม ถึงไม่ใช้กลยุทธ์การเทรดแบบ Over trading (เพราะมันไม่ทำให้การเติบโตที่ยั่งยืนไง) ผลการทดลองก็ง่ายๆ เทรด scalping ไปเรื่อยๆยิงเก็บ cash flow ไปโดยใช้เงินเริ่มต้น $30 เทรด ซึ่งเทรดไปตามภาวะ volatility ของตลาด ยิงเก็บ cash flow ไป มีโค้วต้าการเทรด 4 Unit เดือนแรกมัน flow ได้กำไรสูงถึง 63% ต่อเดือน เดือนสองยังแม่นยิงเก็บแต้มไปต่อได้อีก 16.5% เดือนสามประคองตัว มีติดบ้างแต่ปิดได้กำไร 5.4% แต่เหมือนที่บอกครับ การเทรดแบบ Over trading มันไม่เคยทำให้ใครรวยระยะยาวเพราะ เมื่อประเด็นพิเศษเข้ามา ความผันผวนจาก

Think About Risk

วันนี้ได้ไปให้คำปรึกษาทีมพัฒนา robot trading ของบริษัทแห่งหนึ่ง ใช้เวลาพูดคุยกันครั้งแรกนานพอควร สิ่งหนึ่งที่พบเหมือนกันเกือบทุกคน เช่นเดียวกับตัวผมตอนเริ่มต้น เรามักมองว่าการพัฒนา robot trading ต้องสร้างเงินทำเงิน เอาเงินเป็นตัวหลัก สิ่งที่อยากจะแนะนำคือ เราควรทำให้มันหัดเดิน หัดยืน หรือรอดในตลาดที่ผันผวนให้ได้ก่อน นั้นคือต้องเน้นไปที่การพัฒนาโมเดล Risk Management บน strategies พื้นฐานธรรมดาเสียก่อน คล้ายกับการสร้าง sensor ตรวจจับสัญญาณความเสี่ยง ให้ robot ซึ่งถ้าตรงนี้ Wok  ค่อยไปต่อ ประเด็นนี้ไม่ใช่เฉพาะผมที่ทำ ถ้าเราอ่านเยอะๆจะพบกลุ่มนักพัฒนาต่างประเทศก็ทำเช่นเดียวกัน อย่างข้างล่างเป็นบทความ HOW TO REDUCE TRADER'S RISKS ของ Aleksandr Masterskikh. นักพัฒนาชาวรัสเซีย บทความแปลว่าด้วยประเภทของ Risk ที่จะเกิดต่อระบบเทรด โดยทำการแยกออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ Risk ที่เกี่ยวข้องกับ market dynamics และ Risk ที่ไม่เกี่ยวข้องกับ market dynamics อย่าง Risks associated with market dynamics เขาก็เขียนอธิบายละเอียดแถมพร้อม code การตรวจจับติดตาม risk เหล่านี้ในหมวดย่อยต่างๆไว้ให้ด้วย

Pursuing Truth in the Global Economy with Ray Dalio

Pursuing Truth in the Global Economy คลิปบทสนทนาของ Ray Dalio และ Lawrence Summers ที่ Harvard Kennedy School ช่วงเดือน กพ. 2018 ที่ผ่านมาเป็นคลิปที่มีหลายประเด็นน่าสนใจมาก เนื้อหาราวๆ 1.20 ชม. ค่อนข้างยาว ดังนั้นผมจะมารีวิวเบื้องต้นให้ลองดูกัน 1. ช่วงแรกการแนะนำตัวของคุณ Ray Dalio ซึ่งเป็นศิษย์เก่าของ Harvard University เล่าถึงเรื่องราวจุดเริ่มต้นก่อตั้งบริษัท Bridge water บริหารงานจนประสบความสำเร็จ 2. ประเด็นแนวคิดหนังสือ Principles ที่ Ray Dalio  เขียน โดยเขาอธิบายวิธีคิด กระบวนการเรียนรู้จากความผิดพลาด รวมไปถึงการสร้างวิธีการหาคำตอบ จากการแลกเปลี่ยนมุมมองความคิดที่แตกต่างกันแบบเปิด 3. ยกตัวอย่างระบบ Dot collector ที่ใช้ในบริษัท Bridgewater การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การโต้แย้ง และการสร้าง algorithm ในการหาคำตอบร่วมกัน การก้าวข้ามความขัดแย้ง 4. ถกกันยาวเรื่องแนวคิด Principle ในโลกความจริง ธุรกิจ การเมือง การบริหารองค์กร ตรงนี้ดีมากเพราะ คุณ Lawrence Summers เขาไม่ได้มองเห็นตาม Ray dalio ทั้งหมด(ไม่ใช่ขาอวย) มีหลายประเด็นที่เขายกขึ้นมาในแง่ปฏิบัติถึงการใช้แนวคิดเพื่อจะสร้าง Meritocrac

Risk Tolerance

ตลาดหุ้น ตลาดอนุพันธ์ ตลาดค่าเงินช่วงนี้มีความผันผวนเยอะพอควร ซึ่งทำให้เราควรจะระมัดระวังตัวให้มากๆ ไม่ประมาท แทนที่จะไปโฟกัสกับเรื่อง"กำไร" อาจจะต้องหันมาทบทวนแผนรับมือความเสี่ยงให้มากขึ้น ชวนมาทำความรู้จักกับคำว่า Risk Tolerance ซึ่งเป็นค่าที่เทรดเดอร์/นักลงทุนควรจะมีการนิยามเอาไว้ก่อนสำหรับทุกครั้งที่มีการเทรด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ risk management จากบทความของ Chad Butler เขาแนะนำเรื่อง Risk Tolerance เอาไว้ดี ผมนำเอาประเด็นหลักมาแชร์ให้พวกเราลองศึกษากัน 1. Risk Tolerance by Time horizontal การมองว่า เรามีความสามารถในการถือ position ได้ยาวนานแค่ไหน ทนรอรับความเสี่ยงที่เกิดเชิงเวลามาเพียงใด ปัจจัยนี้พิจารณาไปถึงต้นทุนเชิงเวลา ค่า swap , อัตราดอกเบี้ยต้องจ่าย และค่าเสียโอกาสของเงินทุน ด้วย ไม่ใช่ถือทนไม่ขายไม่ขาดทุนอย่างเดียว เพราะพวกนี้จำเป็นต้องมีการคำนวณไว้ล่วงหน้า กรณีลงทุนระยะยาวควรติดถึงอายุและความจำเป็นต้องใช้เงินประกอบด้วย นอกจากนี้กรณีพวกอนุพันธ์ หรือสินค้าที่มีวันหมดอายุ เรื่องกรอบเวลาหรือปัจจัย time decay ยิ่งจำเป็นต้องมีการพิจารณาล่วงหน้าเสมอ 2. R

Volatility and the Alchemy of Risk

วันนี้ผมมีโอกาสได้อ่าน research paper เรื่อง “Volatility and the Alchemy of Risk” เขียนโดย Christopher Cole แห่ง Artemis Capital Management เขานำเสนอประเด็นที่น่าสนใจหลายเรื่อง โดยเฉพาะความเสี่ยงในภาวะ low volatility ซึ่งประเด็นร้อนเรื่อง Global Short Volatility Bubble ที่อาจจะเกิดในช่วงนโยบายทางการเงิน แบบพิเศษไม่ปกติเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของธนาคารกลาง ชาติใหญ่ๆของโลก ผู้เขียนนำเสนอประเด็น ความเสี่ยงในภาวะ low volatility ใน asset ทำให้ผู้เล่นรายใหญ่ใช้ leverage ในการ betting  บนราคาสินทรัพย์ในทิศทางเดียวกัน จนปัจจุบันมูลค่าโตกว่า $2 trillion บทความเทียบ สถานการณ์ปัจจุบัน กับช่วงที่เกิด Black Monday 1987 ยุคตลาดขาขึ้น พร้อมกับทิศทางขาขึ้นของอัตราดอกเบี้ย หลังเศรษฐกิจสหรัฐขยายตัว จากการกระตุ้นเศรษฐกิจครั้งใหญ่ นอกจากนี้ยังโยงไปถึง 4 องค์ประกอบสำคัญของความเสี่ยงคือ การเพิ่มของ volatility, gamma risk, ค่า correlation ที่ไม่คงตัวระหว่าง asset class และการเพิ่มของ interest rates ประเด็นมันละเอียดอ่อน และเป็นมุมมองเฉพาะ ตรงนี้อาจจะไปตรงข้ามกับความคิดคนทั่วไป ดังนั้นผมไม่ขอแปล

5 Tips to reduce Draw Down

มีคำถามหนึ่งจากน้องเทรดเดอร์เกี่ยวกับการลดขนาด DD ของพอร์ตค่าเงิน เข้ามา ผมนำแนวคิดที่ใช้ในการบริหารพอร์ต robot trading ใน lab มาสรุปเป็นขั้นตอนเบื้องต้น เพื่อให้พวกเราลองเรียนรู้และไปปรับใช้กันครับ 1. วางแผนล่วงหน้ากำหนดขนาด Draw down ที่รับได้ไว้ก่อน เช่นกำหนด MaxDD = 60% 2. ติดตามขนาด Draw down จากกราฟทุกวันเช่นเดียวกับการดูกราฟราคาสินค้า โดยแบ่งแนวสังเกต Draw down จาก ระดับสูงสุดที่รับได้เป็น 4 ส่วน เช่น 15% , 30%, 45% , 60% 3. ป้องกันการโตของ Draw down โดยเทียบอัตราการเพิ่มของ Profit (cash flow) ต่อวันกับขนาดการเพิ่มของ Drawdown กรณีถ้า DD เพิ่มด้วย slope สูงแตะระดับสังเกต เช่น 30% จะต้องทำการลดขนาดของวงเงินในการเข้าเทรดลง,หรือวางกลยุทธ์เพื่อสร้างเงินสดมา cover loss จนกว่า DD จะกลับเข้าระดับปกติ 4. คุมอารมณ์ตัวเอง การมีวินัยทำตามแผนสำคัญมาก เพราะเวลาขาดทุน equity ลดลง Draw down เพิ่มมือใหม่มักอยากเอาชนะตลาดด้วยการแทงทบ หรือพยายามเพิ่มเดิมพันเพื่อกลบขาดทุน ซึ่งตรงนี้ 80% มันจะยิ่งทำให้สถานการณ์แย่ไปกว่าเดิม ถ้าพิจารณาพฤติกรรมข้อมูลราคา หรือภาวะตลาดไม่ดีเพียงพอ 5. อดทน ชะลอ

The Quant Quake, 10 years

เข้าสู่ช่วงครบรอบ 10 ปี วิกฤติการเงินสหรัฐตอนปี 2007 ช่วงตลาดเผชิญภาวะเลวร้าย ตอนนี้มีเทรดเดอร์และผู้จัดการกองทุน หลายท่านออกมาเขียนบทความถึงเหตุการณ์ที่เกิด ผมไล่อ่านหลายบทความ มีหลายประเด็นน่าสนใจโดยเฉพาะด้าน Quant Fund กับภาวะตลาดไม่ปกติ การล้มของกองทุนที่รันด้วย Quant strategies ช่วงปี 2007 รวมไปถึงความกังวลที่หลายคนเขียนคล้ายๆกันคือ การเกิด melt down ของตลาดที่จะมีรูปแบบแตกต่างไปจากอดีต เนื่องจากการ action ของ machine หรือพวก AI trading ประเด็นหนึ่งที่ปัจจุบันมีการพูดถึ งมากเรื่อยๆคือ การพัฒนา Quant trading ด้วย AI ที่ไม่ใช่แค่ฉลาดหรือมีกลยุทธ์ซับซ้อนอย่างเดียว แต่เทรนไปทาง สร้าง AI ให้มีความสามารถเพิ่มวิเคราะห์ข้อมูลตลาดเรียลไทม์เพื่อจับ market anomaly หรือความผิดปกติตลาดให้ได้ และขายออกด้วย high frequency trading ให้เร็วกว่าคนอื่นๆ (รวมร่าง AI + HFT ) เพราะตรงนี้เป็นการป้องกัน Risk และไม่ต้อง play god ไปพยากรณ์คาดเดาตลาดทิศทางราคาล่วงหน้าหรือรีบไปซื้อสวนก่อนราคากลับตัว ลองจินตนาการ AI เห็นโอกาส ซื้อทำกำไรจากการเคลื่อนของราคา จากการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ แถมเข้าได้เร็

Smart beta Portfolio

ทดลองพัฒนาโมเดล สร้างพอร์ตแบบ smart beta ขึ้นมาโดยเป้าหมายหลักคือยังใช้ความไม่สมบูรณ์ของตลาด บวกกับ volatile ที่เกิด มาสร้างให้เกิด cashflow เพื่อสร้าง balance curve ให้โตต่อเนื่อง ความท้าทายมันอยู่ตรงที่การบริหารเงิน คือทำยังไงให้เกิดความได้เปรียบ และจำกัดความเสี่ยงให้เหมาะสม ได้ดีที่สุด เพราะไม่เช่นนั้นความผันผวนของตลาด มันจะมาทำร้ายพอร์ตของเรา สิ่งแรกที่ทำคือ หาโมเดลคุมการบริหารเงินแบบเป็น Dynamic ที่แปรผันไปตามค่า volatility ของตลาด เรียกง่ายๆคือให้ leverage มันแปรผันไปตาม volatility ที่เกิด สิ่งที่สองคือ เพิ่มความแข็งแกร่งให้โมเดล โดยเอาระบบเทรดสองตัวมาทำงานร่วมกัน แนวคิดนี้ก็ง่ายๆ คือเราวิจัยระบบมามากพอ รู้ว่าอะไรคือจุดอ่อนของกลยุทธ์ประเภทต่างๆ ดังนั้น เราจับสองกลยุทธ์ที่มี จุดอ่อน จุดแข็งเสริมกันได้มาทำงานด้วยกันซะ อย่างในโมเดลนี้ ใช้ Scalping ร่วมกับ Trend Following โดยเอาสองกลยุทธ์มาแก้ชดเชย ข้อจำกัดกันและกัน บวกการหาประโยชน์จาก swap ของสินค้าและการอ่านแนวโน้มภาพใหญ่แบบ macro view เพื่อเกาะตามเทรนด์(core beta) แต่ข้อเสียคือเมื่อพยายามเทรด เล่นกับ volatile มันทำให้ กา

Drawdown is your friend

วันนี้มีคนถามเรื่อง Drawdown ระบบ ว่าทำไมต้องไปสนใจมันมาก คำตอบคือ ถ้าเราไม่สนใจมัน ปล่อยให้มันไปของมันเรื่อยๆ มันจะทำให้คุมไม่อยู่รู้ตัวอีกที ก็เสี่ยงมาก จนอาจจะล้างพอร์ตได้  ดังนั้นการดูเรื่อยๆ มันช่วยเราคุมการโตของ equity curve ได้ดี ลดความผันผวนของพอร์ต แถมควบคุมจังหวะหนักเบาของการใช้เงินได้ด้วย ตรงนี้ไม่ใช่เรื่องของเทคนิคอล ไม่ใช่เรื่องของการลากเป้า ดูอินดิเคเตอร์ ดูรูปแบบแท่งเทียน มันเป็นเรื่องของการ บริหารเงิน และบริหารความเสี่ยง ที่จะทำให้เรา "อยู่รอดในตลาดเก็งกำไร" และเมื่อมีทักษะสร้างกำไรได้ต่อเนื่อง โอกาสโตอย่างยั่งยืนมันก็มี เทรดเดอร์ต่างชาติ หรือกองทุน เขาให้ความสำคัญเรื่องนี้มาก เพราะการเทรดไม่ใช่เรื่องของการเดา หรือทำนายอนาคตให้แม่นอย่างเดียว การควบคุมผลของการตัดสินใจและสิ่งที่เกิดตามมาต่างหากคือ Key ที่จะทำให้ประสบความสำเร็จในระยะยาว บนภาวะตลาดที่มีความไม่แน่นอนและผันผวนสูง ปิดท้ายเอาตัวอย่าง เกณฑ์การเทรดของ Fund หนึ่งมาให้ดู ผมมีโอกาสศึกษาโมเดลของ hedge fund นี่พบว่ามีหลายส่วนน่าสนใจ โดยเฉพาะกลยุทธ์การเทรด ที่มีเกณฑ์การคุมขนาดของ Drawdown ที่เกิดแบบเคร่

Recovery Factor

หัวใจของการทำระบบ ไม่ว่าจะซับซ้อนแค่ไหน เบื้องต้นต้องคุม risk ให้ได้ก่อนไปเร่ง profit ถ้าคุม risk ไม่อยู่แล้ว Drawdown(DD) มันโตเรื่อยๆ ระบบจะลำบาก เราละเลยไม่ได้ ต้อง monitor ตลอดเหมือนดู equity นั้นแหละ ลองวางแผนจัดระดับจุดวิกฤติเอาไว้ เช่นของผมจะใช้ 20% ถ้าเกินผมจะปรับ money management ใหม่ จะลด position size ผ่อนทันที และปรับ Stoploss ให้เหมาะเก็บกำไรไปเรื่อยๆ จนกว่า wining rate มันจะดีขึ้น ค่า DD มันเริ่มเปลี่ยน แล้วค่อยมาลุย เกมส์รุกใหม่ ตรงนี้จะเห็น ผมเอา Drawdown เหมือนตัวคุมหางเสือ จากนั้นดูสถิติของ win/loss ratio ประกอบ ถ้าผลงานไม่ดีแถม Drawdown โต บวกถ้าเจอ consecutive loss เยอะ แบบนี้หยุดเลย ออกมาทบทวนก่อน ถ้าเราไม่คุม DD ให้ดี ยามเจอหนักๆ โดนอัดมากๆ หรือมี consecutive loss มากไม่นานอาจจะล้างพอร์ตได้ โดยเฉพาะถ้าใช้ robot เทรดมันเร็วมาก อาจจะลองนำค่า Recovery Factor มาใช้ประกอบโดย Recovery Factor = Netprofit / MaxDD ไม่ว่าจะเทรดกลยุทธ์อะไร Trend following ,Momentum trading , Swing trading หรือ Grid แก่นการอยู่รอด อยู่ตรงนี้ ถ้าระบบ คุมภาวะสมดุลของการ สร้างกำไร และการสูญเสีย

5 คำแนะนำรับมือตลาดขาลง

ต้องยอมรับว่าตลาดหุ้น ไม่ใช่ปีที่ดีที่สุด อย่างที่หลายคนหวัง ถ้าจำอารมณ์ตอนต้นปีกันได้ คือ บิ้ว กันมาสุดๆ มาถึงเดือน 9 อาการเริ่มออกชัด โดยเฉพาะแรงขายจากต่างชาติ ที่พบยอดสะสมในปีนี้เรียกว่า ดึงออกไปอย่างน่าใจหาย สอดรับกับค่าเงินบาทที่ช่วงนี้เข้าสู่โซนอ่อน แบบต้องจับตาคือแนว 36 บาทต่อเหรียญ เราไม่รู้ ว่าต่างชาติจะหยุดขายเมื่อไหร่ หรือจะมีประเด็นร้อนมาขย่มตลาดทั้งจากภายในภายนอกอีกหรือไม่ ผมเองไม่รู้อนาคต แต่คำแนะนำคือการรักษาตัวให้รอดเป็นเรื่องดี อย่าไปเร่งรีบทำกำไร ในยามภาวะแบบนี้ เพราะถ้าพลาดไป มันอาจจะทำให้เราเสียหาย ได้มาก  ด้วยภาวะที่ความไม่แน่นอนสูง ความคาดหวังอนาคตของคนต่ำ บวกกับ player ใหญ่พร้อมจะลดความเสี่ยงถือเงินสดกันได้ตลอด ดังนั้น การเตรียมตัวรับมือ ตลาดหุ้น ร่วงลงเป็นเรื่องสำคัญ ผมเอา Tip ง่ายๆ 5 ข้อมาแนะนำกัน  1. วางแผนฉุกเฉิน หัดวางแนวรับแนวต้าน ของราคาหุ้นหรือดัชนี เอาไว้และคิด ออกแบบแผนการณ์ล่วงหน้า เพื่อรับมือ เช่น ลากเป้า low ที่เป็นไปได้ SET 1200,1100 ลองสร้าง senrio ว่าถ้ามันไปตรงนั้นจริงๆ หุ้นแต่ละตัวของเราจะไปอยู้ราคาตรงไหน จะเกิด

Risk Reward Ratio (VDO)

สัปดาห์นี้ cway channel นำเสนอเรื่องของ RRR เครื่องมือคลาสิก ที่เปรียบเหมือน GPS นำทางการเทรดให้กับเทรดเดอร ์ การใช้ Risk Reward Ratio ประโยชน์ของ RRR วิธีการคำนวณ การออกแบบ RRR  การวาง Stoploss การวาง Target price การตีความาหมาย หาค่าที่เหมาะสม dynamic RRR RRR & %win เข้าชมได้ฟรีที่ https://www.youtube.com/ watch?v=QXy7txx36ts

Dynamic Rebalancing

พูดเรื่อง risk management บ่อย เพราะอยากยำว่ากลยุทธ์ ด้านนี้สำคัญมาก สำหรับ การสร้างพอร์ต ให้มั่นคงระยะยาว อยากแนะนำให้ ลองศึกษา หรือหาแนวทาง มาปรับใช้กันเยอะๆ โดยเฉพาะ คนที่เทรดหุ้น เทรดอนุพันธ์ หรือเทรดตลาดต่างประเทศ ความเสี่ยง มันคือ การไม่รู้อนาคต ดังนั้น ถ้าคุณเดาอนาคต 100% ไม่ว่าจะเล่นสั้น เล่นยาวทำอะไร จะใช้ระบบแบบไหน มันเสี่ยงทั้งนั้น มากน้อยก็ว่ากันไป วันนี้ผมเอาบทความหนึ่ง น่าสนใจของคุณ Vineer Bhansali จาก  PIMCO เรื่องเกี่ยวกับการทำ dynamic rebalancing โดยใช้ค่า vollatility ของตลาด บทความนี้ตีพิมพ์ลงใน The Journal of Portfolio Management. หัวใจสำคัญคือทำยังไง ให้ max loss เกิดน้อยสุด เกิด drawdown ของระบบต่ำที่สุด โดยเฉพาะจากปัจจัยเสี่ยงที่เกิดขึ้น และเข้ามากระทบ ผมคงไม่ลงรายละเอียดทั้งหมด เพราะมันเยอะ แต่เอาคอนเซป มาให้ดูว่า การบริหารความเสี่ยงนั้นสำคัญ ไม่ใช่ หลับหูหลับตาเทรด หรือ วิ่งหากำไร เห็นของถูก เห็นคนเชียร์เยอะๆ ก็จะเข้าไปเก็บตลอด การประเมินสถานการณ์ความผันผวน ความไม่ปกติให้ออก แล้วรู้จักผ่อน หนัก เบา ช้า เร็ว เป็น key สำคัญของมืออาชีพ ที่สามารถทำพ

RISK

สองเดือนก่อน เตือนกันไปเบาๆว่า ช่วงนี้ตลาดยากนะครับ อย่าประมาทนะครับ เขาตอบกลับมาว่า จะไปยากแค่ไหนกันเชียว ตัวพี่นี่จบด๊อกเดอร์มา งานยากกว่านี้ก็ทำมาแล้ว ผลลัพธ์คือ หมดตัวล้างพอร์ตจาก tfex ด้วยความมั่นใจ เห็นคำอื่นๆได้กำไร ได้เงินกันง่ายๆ ตัวเองก็อยากลองธุรกิจยากก็ทำมาจนประสบความสำเร็จแล้ว tfex จะยากอะไรหนักหนา ดูกราฟสองสามทีตัดขึ้นซื้อตัดลงขายแบบที่เขาใช้กัน มั่นใจจัดเลยเอาเงินเข้ามาลุยสด หวังได้กำไรทันใจ มีเงินใช้ไปเที่ยวต่างประเทศ ปลายปีกับครอบครัว สองเดือนจอด สามล้านหมดเกลี้ยง ขาดทุนติดดอยโดนลากกระจาย บางออร์เดอร์ตัดขาดทุนเมื่อสายหายไปเป็นล้าน ผมอาจจะไม่เก่งเหมือนคนอื่น แต่ผมมีทักษะการอยู่รอดที่สูง เพราะผ่านมาเยอะ ทดลองมาเยอะ สิ่งที่อยากจะสอนคือ 1. ชีวิตจริงคุณจะเก่ง จบสูง IQ สูงเพียงใด หรือประสบความสำเร็จแค่ไหน เขามาในตลาดใหม่ๆคุณก็คือ "หมู" ดีๆนี่เองครับ ดังนั้นอย่า over confidence อย่ามีอีโก้จัด การเดานอกเกมส์นอกตลาด กับการเทรดเงินจริง มันต่างกันเยอะมหาศาล 2. คิดเยอะๆ ละเอียดรอบคอบ อ่านพฤติกรรมราคาให้ขาดอย่าปล่อยให้อารมณ์หลอกเรา อย่ามโนไปตามความเชื่อ

ผลตอบแทนจากประสบการณ์

เมื่อคืนเป็นอีกคืนที่ happy มากเพราะพอร์ตน้ำมัน ทำ cashflow ได้สูงเป็นสถิติ รอบหลายเดือน จากการรีบาวนด์กลับทิศทางยกตัวขึ้น ทำให้ระบบ GRID เริ่มสร้างกำไร ปรับต้นทุนในโซนเทรด $40-$50 ได้ เมื่อย้อนไปอ่าน diary เขียนไว้ในปี 2013 ตอนนั้นเทรด crude oil ตอนโซน $99 เขียนแนวคิดวิธีการเทรดเรื่องการเก็บ cashflow ไว้ชัดเจน ที่ดีใจคือ ตัวเองยึดมั่นในระบบที่เราพัฒนา เทรดได้ตามแผน ไม่ว่าน้ำมัน จะเข้าสู่ภาวะโหดร้ายแค่ไหน พอร์ตผมก็ยังไม่ล้าง อยู่รอดและทำกำไรได้ต่อเนื่อง แม้จะไม่มีกำไรไม้ละหมื่นละแสน แต่เวลาที่ผ่านไป การได้เทรดทุกวัน ติดตามตลาดทุกวัน มันสร้างประสบการณ์และการเรียนรู้มากมาย นี่ต่างหากคือกำไร ที่แท้จริง ที่ผมคาดหวัง เพราะผมเชื่อว่าไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับตลาดในปี 3 ปี 5 ปีข้างหน้าผมก็จะสามารถอยู่รอดและปรับตัวให้เข้ากับสภาวะที่เกิดได้ โดยไม่ต้องไปเสียจริต เสียเวลาเดาอนาคต เล่นไปตามระบบ ไม่หวั่นไหวไปตามข่าว ตามบทวิเคราะห์ที่ออกตามสื่อหลัก ถึงน้ำมันจะไป $10 จริงๆ ผมเชื่อว่าด้วยระบบเทรด และองค์ความรู้ที่มี โดยเฉพาะการบริหารจัดการความเสี่ยง สิ่งเหล่านี้ก็น่าจะทำให้ พ

Nonsystematic Risk :Franc Surge

ความเสี่ยงจากการไม่รู้อนาคตนี้เป็นเรื่องที่ อันตรายมากสำหรับ เทรดเดอร์ ไม่วาคุณจะเก่งแค่ไหน แต่สุดท้าย อนาคตเป็นเรื่อง ที่ยากจะคาดเดา เขียนเรื่องนี้บันทึกเรื่อง ปรากฏการณ์ สวิตฟังซ์ CHF เอาไว้เพราะมันคือ ประสบการณ์ในรอบหลายปีที่เกิด กับการเทรดของผม ยอมรับว่าไม่เคยเจอ effect จากข่าวที่ผิดคาด มาเซอร์ไพร์สตลาดและทำให้ ราคาวิ่งแบบถล่มขนาดนี้ ประเด็นที่เกิดมาจากข่าว Swiss National Bank (SNB) ยกเลิก minimum exchange rate ที่ 1.20 / ยูโร กับ การปรับอัตราดอกเบี้ยชนิดที่พรวดเดียว จาก -0.25% ไป -0.75% ข่าวนี้ออกมาช๊อคตลาด เรียกว่า USDCHF และ EURCHF ร่วงหนักทำจุดต่ำสุด แบบรวดเร็วในเวลาไม่ถึง 20 นาที และทำจุด low ที่ทำให้ระบบรวน และเสียหายอย่างน่ากลัว บางโบรกนี้หยุด การซื้อขายไปชั่วขณะเลย  ดูจากภาพจะเห็นความโหด และเร็ว กดกันไปเกิน 3000 pip ในเวลาไม่ถึง 20 นาที  สิ่งที่ตามมาก็ป่วนสิครับ แม้จะมี รีบาวน์ยกกลับมาได้เกินครึ่ง แต่ก็ลดลงหนักมากกว่า 2000 pip  เป็นการปรับตัวที่รุนแรงและ high volatility มากที่สุด ที่ผมเคยเทรดมา งานนี้ทำเอา EA ของผมหลายตัวร

Determine your risk

วันนี้มีคำถามเรื่อง Money management เข้ามาทางกล่องข้อความ จากน้องในกลุ่มไทยเทรด ผมตอบคำถามเรื่องนี้บ่อยพอสมควร  หลายครั้งที่ตอบ คิดว่ามันมีประโยชน์ และคนทั่วไปที่สนใจเข้ามาเทรด เก็งกำไร จำนวนมากยังสับสนและไม่ค่อยเข้าใจ ในหลักการนำไปใช้เท่าไหร่  เลยอยากนำมาเขียนอะไรง่ายๆ สรุปไว้ จริงๆเรื่องของ Money management มันเป็นคณิตศาสตร์บางครั้งพูดมาลงลึก ยากไป ก็เบื่อ แถมไม่มีกราฟิกให้ดู ให้ท่องจำแบบ เทคนิคอล ทำให้คนไม่สนใจ และมักจะเลิกที่จะลืมมันไป  แต่น้องๆที่คิดจะมาเทรด จำไว้อย่างนะครับ เราไม่มีทาง betting แล้วชนะ ทุกครั้ง โอกาสขาดทุนมันมี เสมอ มีคนถามผมเสมอ ใช้เทคนิคอล ต่อให้ backtest หรือ forward test ทำไปทำไม ในเมื่อมันไม่มีทางถูกต้อง 100%  คำตอบก็คือ ทำไปไม่ใช้หาว่ามันถูกแค่ไหนเป็นหลัก แต่ทำเพื่อให้รู้ว่ามันมีโอกาสผิดพลาดหรือ %loss มากแค่ไหน  ถ้ามันมีโอกาสแพ้เยอะ ใช้ไม่ได้ก็ต้องโยนทิ้ง ถ้ามันมี %loss พอรับได้ เราก็ต้องประเมินให้ออกว่าระดับมันมาก ปานกลาง หรือสูงเท่าไหร่ เพื่อเอาโมเดลของ Risk Management หรือ Money management มาเป็นตัวไปจับ เพื่อจำกัด ลดทอนขนาดของความเส