ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ มือใหม่

อะไรที่ดีเกินจริง มันมักไม่เป็นจริง

เมื่อวานพูดถึงเรื่อง Bernard Madoff ประเด็นการหลอกหลวงครั้งใหญ่ใน wallstreet มูลค่าเสียหาย $18 billion เกมส์การเงินแบบ poncy scheme ที่ Madoff ใช้หลอกนักลงทุน และกองทุนต่างๆให้มาลงทุนผ่านการตกแต่งบัญชี และผลการลงทุนที่สวยงามเกินจริง ซึ่งหลอกให้เหล่า นักการเงินมืออาชีพ,ผู้จัดการกองทุนให้ช่วยหาเงินจากนักลงทุนมา ใส่กองทุนของ Madoff ตลอดหลายปีที่ผ่านมา วันนี้นำข้อมูลมาขยายความเพิ่มโดยในภาพนี้นำมาจาก Google Investment talk ที่ Andrew W. Lo ไปบรรยายเรื่อง Adaptive Markets ในช่วงนี้คุณ Lo พูดถึง Adaptive Risk perception ที่นักลงทุนส่วนใหญ่ โดยเฉพาะมืออาชีพ แม้จะ loss aversion หนีความเสี่ยงแต่ก็ยังโดนหลอกจากการถูกดึงดูดเข้าหา High return และ low risk หรือ High sharpe ratio จุดนี้คุณ Lo บอกว่าเรื่องมุมมองเกี่ยวกับความเสี่ยง(Risk) ของแต่ละคนนั้นแตกต่างกันไปและเป็นเรื่องที่มักโดนจัดการปรุงแต่ง ทำให้เชื่อหรือเข้าใจผิดได้ง่าย จากการสอบถามผู้ฟังบรรยายในคลาสด้วยข้อมูลในภาพก่อนเฉลย คนส่วนใหญ่มักจะเลือกลงทุนบน asset เส้นสีดำ ซึ่งเส้นนี้เป็นผลตอบแทนสะสมระยะ 10 กว่าปีจากการลงทุน $1 ไป $7 (ผลตอบแทนราวๆ 7

A Non-Random Walk Down Wall Street

เมื่อเช้าผมเห็นคนพูดถึงเนื้อหาใน A Random Walk Down Wall Street แล้วโจมตีแนวทางการเทรด, และการใช้โมเดลการวิเคราะห์ราคาหุ้น จริงๆผมเคยอธิบายประเด็นนี้ไว้แล้วเมื่อหลายปีก่อน ดังนั้นคงไม่อยากไปโต้แย้งอะไรเพิ่มเพราะสุดท้าย มันเป็นเรื่องของความเชื่อส่วนบุคคล ,แต่สิ่งที่เราเห็นเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ในยุคปัจจุบัน จะพบคนที่ประสบความสำเร็จจากตลาดหุ้น เช่น Ray dalio, George soros, Jim Simons , Warren buffett ล้วนไม่ได้ใช้วิธีการหรือแนวทางเดียวกันเสมอไป ดังนั้น มันย่อมมีมากกว่า วิธีการเดียว หรือความเชื่อเดียว ที่เอาชนะตลาดและอยู่รอดในตลาดหุ้นเสมอ ถ้ามีโอกาสอ่าน A Random Walk Down Wall Street อยากเห็นอีกด้านของเหรียญ หรือวิธีคิดที่แตกต่างออกไป ผมแนะนำหนังสือชื่อ A Non-Random Walk Down Wall Street เป้าหมายที่เขียนขึ้นเพื่ออธิบายจากข้อมูลจริงและโมเดลเชิงเลขที่บอกว่า ราคาหุ้น ไม่ได้มีแค่ random walk เสมอไปหรือทุกช่วงเวลาแต่มัน adaptive ความเสี่ยงที่เกิดก็ปรับเปลี่ยนเพิ่มลดไปได้เช่นกัน และเราก็ใช้ประโยชน์จากมันได้ คนเขียนหนังสือเล่มนี้ก็ไม่ได้โนเนม แต่เป็น professor Andrew W. Lo แห่ง MIT Sloan Sc

Cathie Wood vs Michael Burry

ช่วงนี้กำลังตามประเด็น ยักษ์ชนยักษ์ ระหว่าง Cathie Wood vs Michael Burry ช่วงเดือนที่ผ่านมา ซึ่ง Michael Burry ตั้งป้อมมาวิจารณ์ราคาหุ้น tesla และประกาศ ซื้อ put options ของ TSLA เพิ่ม รายงานระบุมีสถานะ 1.1 million put options มูลค่าราวๆ $731 million , รวมถึงการ short position against กองทุนของ ARKK ของ Cathie Wood ราว $31 million ล่าสุด Cathie Wood ออกมาโต้ Michael Burry ด้วยข้อความสั้นๆทาง twitter ว่า Michael ไม่เข้าใจการประเมินมูลค่าจากการเติบโตและโอกาสของหุ้นสาย tech & innovation space ประเด็นนี้ทำให้มีการถกเถียงกันมาก ทั้งจากนักลงทุนทั่วไป และกูรูคนดัง ที่มองกันต่างมุมบ้างก็เห็นด้วยกับ Michael Burry บ้างก็มองว่าเป็นเรื่องเสี่ยงเกินไปจะไป short กองทุน ARKK ที่เต็มไปด้วยหุ้น Tech อันดับต้นของโลกและหุ้นเกี่ยวกับ blockchain Tech , บ้างก็ว่า Burry อาจจะรอปาฏิหารย์อีกรอบ แต่ครั้งนี้กรอบเวลา ของการรอคอย เพื่อวัดผล ทั้ง Cathie Wood และ Michael Burry คงจะไม่เท่ากัน และหลายอย่างอาจจะไม่ง่ายแบบเขาคิด เช่นก่อนหน้าออกมาอัด Bitcoin อย่างหนักทาง twitter และล่าสุดราคาก็ดีดกลับ จากข้อมูลท

The science of technical analysis vs. the art of trading

กำลังเตรียมวัตถุดิบในการเขียนหนังสือเล่มใหม่ เลยกลับไปฟังคลิป chatwithtraders เขานำคุณ Brian Shannon แห่ง Alpha Trends เทรดเดอร์ & นักวิเคราะห์ทางเทคนิค CMT ผู้มีประสบการณ์ในตลาดหุ้นมากกว่า 20 ปี มาพูดคุยหัวข้อ The science of technical analysis vs. the art of trading ผมคิดว่าน่าจะมีประโยชน์กับเทรดเดอร์ทั้งมือใหม่ มือเก่า ผมเลยแชร์โน๊ตสรุปมาให้ครับ 1.เส้นทางการเป็นเทรดเดอร์ -เริ่มต้นสนใจตลาดหุ้นช่วง high school เขาช่วยพ่อหาข้อมูลและนั่งอ่านนิตยสารหุ้นด้วยกัน - ตอนเรียนมหาวิทยาลัยก็มีโอกาสได้เทรดทำกำไรจากตลาดหุ้นได้หลายพันเหรียญ มันยิ่งทำให้เขาอยากศึกษาอยากเรียนรู้เรื่องหุ้นมากขึ้น - เรียนจบมหาวิทยาลัย เขาเลือกทำงานเป็น stock broker ให้กับบริษัทโบรกเกอร์แห่งหนึ่งด้วย ความอยากสัมผัสและเรียนรู้จักตลาดหุ้นมากขึ้น - เป็นตัวแทนซื้อขายหุ้นหลายปีและมีโอกาสย้ายไปทำงานกับโบรกเกอร์ขนาดใหญ่อย่าง leaman brother เขาก็เริ่มหันมาศึกษาเรื่องของกราฟเทคนิคอลจริงจัง - 1998 พอมีโอกาสมาเขาก็เปลี่ยนงานมาเป็น Prop Trader ให้กับ Generic Trading, LLC ในนิวยอร์ค เพราะด้วยต้องการเงินทุนมาเทรด รวมถึงมีการแบ่

Historical Parallels to Today’s Inflationary

วันนี้ผมได้อ่านบทความฉบับหนึ่งจาก blog ของทีมที่ปรึกษาเศรษฐกิจของรัฐบาลสหรัฐ whitehouseCEA เขาเขียนถึงประวัติการเกิด Inflation ไว้น่าสนใจมากและยาวมาก ประเด็น infaltion ที่สหรัฐตอนนี้มีการถกเถียงและวิเคราะห์กันมากและหลากหลาย ในมุมต่างๆ บทความนี้เขียนโดยนักวิชาการสายรัฐบาล แต่ก็มีข้อมูลอดีตที่เขารวบรวมไว้ได้ละเอียดมาก (มากพอกับในหนังสือ Big Debt Crises ของ Ray Dalio เลย) รายละเอียดเยอะมากไม่ขอแปลทั้งหมด แต่สิ่งที่น่าสนใจคือการเกิดภาวะเงินเฟ้อสูงในอดีตตั้งแต่หลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 บทความนี้นำเสนอมีทั้งหมด 6 episode หลายครั้งเกิดจากเหตุไม่ปกติของ supply ในระบบ (Supply chain disruption) และโยงไปกับต้นทุนการผลิตเช่น ภาวะราคาน้ำมัน ที่สูงจากการขาดแคลนเป็นต้น รวมถึงการเกิดสงครามใหญ่ เช่นสงครามเกาหลี, สงครามอิรักบุกคูเวต เป็นต้น Episode ล่าสุดที่ระดับ CPI ขึ้นมาถึง 5% เป็นช่วงปี 2008 ที่มีการปรับขึ้นของราคาน้ำมัน แบบฉับพลันจาก $70 ไปจุดสูงสุด $140 ในเวลา 2 เดือนเท่านั้น ซึ่งสาเหตุต่างๆทำให้เกิด demand and supply chain disruptions ที่รุนแรงและมีผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้ CPI พุ่ง

Improving Your Trading Consistency

วันนี้นั่งฟังรายการ Three Minute Trading Coach ของคุณ Brett Steenbarger เขาแนะนำเรื่องของ Trading Consistency การตัดสินใจเทรดได้ดีและต่อเนื่อง จากมุมมองของนักจิตวิทยา โดยสรุป Dr. Steenbarger บอกว่าให้เริ่มจากการรับรู้(Observation) ข้อมูล,รับรู้สภาวะของ Market เพื่อทำความเข้าใจรูปแบบของพฤติกรรมตลาด(Pattern) ที่เกิด , ส่วนใหญ่ก่อนในวันเริ่มเทรด เขาพยายามศึกษา ทำความเข้าใจ เช่นการมองการเคลื่อนที่ของราคา(Price Movement & Trend), กรอบราคาและการ Breakout สุดท้ายมองหาแนวราคาที่อาจจะเกิดการกลับตัว(Reversal) ซึ่งรูปแบบ ในภาวะตลาดจะเกิดแตกต่างกันไป Key สำคัญเพื่อให้เกิดการเทรดได้ดีและต่อเนื่อง คุณ Steenbarger เขาเน้นการเปิดใจ(open mind) เพื่อเข้าใจสิ่งที่เกิดจริง(Reality) ก่อน ที่จะไปตั้งธงมี Bias โดยจดจ่อกับกำไรหรือขาดทุนอย่างเดียว เพราะการมองแค่ผลกำไรหรือกลัว กังวลกับการขาดทุน จะทำให้ไม่สามารถมองเห็นภาพที่ควรเป็นจริง ได้ครบหรือดีเพียงพอ ยิ่งทำมากๆจะสะสมเป็นประสบการณ์ , การเข้าใจตลาดที่ดีจะทำให้เราตัดสินใจแบบ Real time ได้ดี , ซึ่งดีกว่าการตั้งฤธง หรือไปตั้งเป้าการทำนายว่า วันนี้ราคาจะต้อ

Financial Independence, Retire Early (FIRE)

  พอดีมีโอกาสได้ทำโปรเจคกับรุ่นน้องคนหนึ่ง เขาเพิ่งจบ ป.โท จากอเมริกามา น้องคนนี้พอรู้ว่าสนใจเรื่องการลงทุนเหมือนกัน เจอกันทีก็คุยกันยาว เพราะเขาเป็นสาย FIRE เจ้าตัวบอกเลยถ้าเกษียณได้ก่อน 40 จะดีใจกว่าจบ ป เอก 3 ปีอีก, ระหว่างอยู่อเมริกาน้องเขาไปร่วม club ด้าน FIRE ทำให้เขาสนใจมา จากการนั่งคุยกันทำให้มีหลายประเด็นที่ผมสนใจ และลองกลับมาศึกษาเพิ่ม(ตอนแรกที่ได้รู้จัก FIRE ไม่ค่อยอินเท่าไหร่เพราะมันทำยาก) Financial Independence, Retire Early เกิดมานานแล้วจากหนังสือ "Your Money or Your Life แต่มาฮิตหลังซับไพร์มโดยเฉพาะ 4-5 ปีก่อนโด่งดังมากในโลกออนไลน์ และมีคนสนใจเยอะด้วย ประเด็นหลักถ้าจำกันได้คือเรื่อง latte factor นั้นเอง ซึ่งหลายคนมองว่าแนวคิดนี้ดีน่าสนใจ บ้างก็ว่ามันสุดโต่งและทำได้ยาก แต่ปัจจุบัน FIRE มีหลายสายมาก เช่น Fat FIRE,Lean FIRE,Barista FIRE, Coast FIRE ไม่จำเป็นต้องสุดโต่งแบบเก็บเงินเพื่อลงทุน 50%-70% ของรายรับทุกเดือน เพื่อให้ได้เงินล้านและรีบเกษียณก่อนอายุ 30 ปี อีกอย่างปัจจุบัน FIRE เริ่มเข้าใจเรื่อง DCA effect ตอนขายหุ้นมากขึ้น, รวมถึงนำค่าเงินเฟ้อไปปรับค่าเป้าหม

How To Keep Your Passion For Trading Alive

พอดีวันนี้อ่าน mail มีน้องคนหนึ่งถามเรื่อง หมดไฟ เข้ามาน้องบ่นให้ฟังเรื่องผลการเทรดที่ไม่ดี ขาดทุนบ่อยจนท้อ บวกแรงกดดันจากทางบ้าน ทำให้ทุกอย่างมันดูแย่ไปหมด คลิปนี้ของ Brett Steenbarger แนะนำหัวข้อนี้ไว้ คิดว่าน่าจะมีประโยชน์กับหลายคนเลยอยากนำบทสรุปภาษาไทยสั้นๆมาแชร์ไว้ โดยคุณ Steenbarger วิเคราะห์ปัญหาของการหมดไฟ ของเทรดเดอร์นั้นมักมาจากเมื่อขาดทุน บ่อยๆ กำไรไม่มากพอ ไม่เหมือนที่คาดหวังไว้ (expectation) ยิ่งเจอภาวะตลาดผันผวนเปลี่ยนไปมา เคยทำกำไรได้กลายเป็นขาดทุน กำไรหายทุนหมด หมดไฟไปในที่สุด ซึ่งปัญหาหนึ่งคือ เทรดเดอร์เริ่มต้นจาก ภาพ fantacy ที่ตัวเองคาดหวัง ภาพของการทำเงินได้เยอะๆตามที่เห็นในสื่อในโลกออนไลน์ ทำให้หลุด จากความเป็นจริง(Reality) จนมองข้ามงานหนักที่ต้องทำและกระบวนการเรียนรู้(learning curve) ในสนามจริงเพื่อพัฒนาทักษะ สะสมประสบการณ์ก่อนก้าวข้ามไปถึง จุดทำกำไรได้ต่อเนื่อง และอยู่รอดในตลาดอย่างแท้จริง โดยคุณ Steenbarger ได้ให้คำแนะนำ 3 ข้อสำหรับการรักษา passion ในการเทรดไว้ ดังนี้ 1. ค้นคว้ามั่นเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ หัดสร้างตัวเองให้กล้าทดลอง ทำสิ่งใหม่ๆ มองหาโอกาส เรียนรู้

Zero cost position tactic

  ผมเคยอธิบายเทคนิคการปรับต้นทุน การขายทำกำไรลดต้นทุนการถือสถานะเพื่อลดผลกระทบที่เกิดจาก market volatility หรือการทำ Zero cost position ให้ฟังบ่อยๆ วันนี้ผมมีคลิปหนึ่งเอามาให้ดูเป็นเทคนิคของนักลงทุนระยะยาวชื่อคุณ Mark Meldrum (คนเก่ง Finance ใครที่สอบ CFA น่าจะเคยตามหรือดูคลิปช่องของเขา) รายละเอียดมีพอควรแต่ผมจะมาสรุป Key สำคัญให้ฟัง 1. การเทรด spot หรือสินค้าแบบหุ้น(ที่ดี) ไม่ใช่ leverage ได้เปรียบเรื่อง "เวลา" ซึ่งเอามาหาประโยชน์จาก volatility ที่เกิดในตลาดได้ 2. Volatility เกิดจากความอ่อนไหว จากปัจจัยเสี่ยงภายนอก(เศรษฐกิจ+ข่าว+ผลประกอบการ) ของผู้เล่นในตลาด(รายใหญ่,รายย่อย) โดยเฉพาะสายที่ margin trading, long + leverage หรือ long short strategies ที่ต้องเทรดไปตามภาวะตลาดระยะสั้นที่เกิด (โดยเฉพาะภาวะตลาดผันผวนมากๆ ยิ่งทำให้เกิดพลวัตรตลาดมากตาม เช่นจากการ sell off หรือการ deleverage) 3. แรงขับระยะยาวมาจาก นักลงทุนสถาบันรายใหญ่ ที่มีเป้าหมาย long bias (บางช่วงเวลาอาจจะมีการลดสถานะได้เช่นกัน แต่ส่วนใหญ่จะเป็นการ long ใน investment time horizon ระยะยาว) มาร์คมองว่าความน่าจะเป็น

How to Hedge Against Inflation

บทความน่าสนใจจากคุณ Ben Carlson Director จาก Ritholtz Wealth Management. เขียนถึง inflation หลังล่าสุดข้อมูล US CPI เพิ่มจากปีก่อนหน้า +5% , ในด้านสถิติเป็น biggest CPI gain มากสุดตั้งแต่ปี 2008 ก่อนช่วง financial crisis , นอกจากนี้ยังมีตัวเลขราคารถมือสองและราคารถ ที่เพิ่มสูงขึ้น 7.3% จากเดือนก่อนหน้าและเพิ่ม 29.7% รอบ 12 เดือน ซึ่งนวค.มองว่าเป็นหนึ่งปัจจัยเร่ง inflation มาเกิดช่วง reopen economy ที่จะมีผลต่อ demand และ supply ในระบบ ด้าน นวค. แนะนำให้จับตามอง inflation ซึ่งแนวโน้มการเพิ่ม inflation ในช่วงอัตราดอกเบี้ยต่ำ อาจจะส่งผลต่อท่าทีของ Fed ที่อาจจะมีนโยบาย หรือแผนออกมาหลังตัวเลข CPI เพิ่มสูง ขณะที่ Initial jobless claims ล่าสุดออกมา 376,000 สูงกว่าคาด , Ben Carlson นำเสนอข้อมูลความสัมพันธ์ของ inflation กับผลตอบแทน U.S. stock market (S&P 500) ในช่วงต่างๆ โดยเฉพาะช่วงปี 1970s ที่เกิด high inflation สูง 6.8% แม้ real return ของ S&P500 ปิดได้ราวๆ 7.7% ทำให้ผลตอบแทนหลังปรับค่าเงินเฟ้อ -0.9% ซึ่งผู้เขียนแนะนำให้ เราไม่ควรประมาทกับ inflation ควรหาทางป้องกันพอร์ตเงินทุนขอ

Commodities super-cycle จะมาหรือไม่??

  วันนี้เป็นอีกวันที่ได้ยินคำว่า "commodities super-cycle" จาก podcast ที่ฟัง ประโยคนี้มีการพูดถึงมาตั้งแต่ต้นปี 2021 ที่ราคา commodity มีการเปลี่ยนแปลงรุนแรง และทำจุด New High หลายตัวพร้อมๆกัน ทั้งกลุ่มโลหะ, สินค้าเกษตร(agricultural commodities) และอื่นๆ ความน่าสนใจคือเดือน May ที่ผ่านมา หลังสหรัฐมีการประกาศความสำเร็จในการฉีดวัคซีน covid-19 + มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจรอบใหญ่ ทำให้ นักวิเคราะห์เริ่มออกมาพูดถึงผลกระทบระยะสั้น จากการเปิดเศรษฐกิจ เช่นเรื่องของ demand shock ที่อาจจะเกิด รวมถึงเรื่องของตัวเลขสะท้อนการเพิ่ม inflation , สัปดาห์นี้ commodities super-cycle กลับมาอีกรอบเพราะน้ำมันดิบ (WTI และ Brent ) ต่างทำจุดสูงสุดใหม่ สัปดาห์นี้ไปแตะ $69.32, จะHigh นับตั้งแต่ปี October 2018 (ผ่านพ้นช่วงถดถอยหนักมาได้) น้ำมันมารอบนี้ก็ดีใจกับ น้องๆและเพื่อนๆสาย oil trader กันด้วย แม้ WTI จะเป็นคอมโมดิตี้ที่มาช้ากว่าเพื่อนในกลุ่ม metal แต่ชัดเจนว่ามาจริงๆตาม นวค.คาด Gregor Spilker, CME Group เขียนบทความเดือนก่อนว่าการเพิ่มของ demand จากการกลับมา reopen economy + นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจขอ

Crypto-low-risk : การบริหารต้นทุนในพอร์ต Cryptocurrentcy

  ความเสี่ยงสำคัญของการเทรด Cryptocurrentcy คือการไม่รู้ต้นการถือครองเหรียญในพอร์ต บางคนซื้อเพราะเชื่อว่ามันจะขึ้น,ซื้อแบบ FOMO กลัวจะตกรถ, แน่นอนว่าพอมันลงแรงๆรอบ market crash ที่ผ่านมา ก็เห็นคนซื้อถัวเฉลี่ย. ซื้อตอนย่อ -20% ถึง -30% เพราะคิดว่ามันคิดว่ามันจะเด้งขึ้น แต่พอมันลงไป -50 -70% เงินหมด ทุนจมขาดทุนสูงมากได้แต่ ดอยและรอคอยความหวังให้ราคาเหรียญเด้งกลับมารับ ความเสี่ยง จากการถมเงินลงไป หรือเข้าซื้อขายตามอารมณ์ นี้เกิดขึ้นเสมอโดยเฉพาะภาวะราคาสินค้ามีความผันผวนสูง การจะจำกัดความเสี่ยงให้ต่ำและเกิดประสิทธิภาพในการถือครอง Cryptocurrentcy ในระยะยาวเราต้องบริหารต้นทุนให้เป็น ปัจจุบันโบรกเกอร์ส่วนใหญ่ไม่ได้ทำการคำนวณต้นทุนและทำระบบติดตามต้นทุนให้เรา , นอกจากโบรกเกอร์ใหญ่บางเจ้าต่างประเทศจะมี Feature การคำนวณต้นทุน P&L analysis ให้ , บาง app มีให้ใช้แต่อาจจะไม่ฟรีและต้องกรอกบันทึกข้อมูลการซื้อขายเอง แต่แน่นอนว่าย่อมดีกว่าการไม่จดไม่บันทึกอะไรเลย ซึ่งจุดนี้ "spreadsheet is your friend" ครับ ต้องจดต้องบันทึกเอง , ส่วนตัวผมก็ใช้ spreadsheet ง่ายๆ บันทึกรายการเทรดแต่ละครั้ง

REITs & Re open economy theme

  REITs เป็นสินทรัพย์ประเภทหนึ่งที่โดนผลกระทบจาก covid-19 หนักหน่วงมาก ซึ่งจะเห็นการถดถอยของราคา REITs ส่วนใหญ่ของโลกเมื่อเทียบช่วงต้นปี 2020 ล่าสุดเริ่มมีกูรู นักวิเคราะห์กลับมาพูดถึง REITs มากขึ้น รับกับ theme การ Reopen Economy หลังหลายประเทศ เช่น จีน,สหรัฐ,อังกฤษ วัคซีนเริ่มได้ผลดีในการควบคุมการระบาด จนเกือบจะกลับมาเปิดเศรษฐกิจได้อีกครั้ง Mike Zaccardi, เขียนบทความโดยอิงข้อมูลในสหรัฐ ซึ่งเขาทำการวิเคราะห์ US REIT โดยแยกเป็นประเภทของ REIT ได้แก่ -กลุ่มได้ประโยชน์หรือมีผลกระทบน้อย COVID beneficiaries (Specialty, Industrial, and Storage REITs) , -กลุ่มได้รับผลกระทบมาก immediately impacted the hardest (Retail, Hotel/Resort, Healthcare) -กลุ่มผลกระทบตามช่วงการปิดเมือง “Slow Burn” group (Residential and Office REITs). ตามภาพจะเห็นว่ากลุ่มรับผลกระทบมาก REIT ท่องเที่ยว,โรงแรมนี้หนักสุด แต่ก็เห็นสัญญาณการ rebound มากขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงเดือน มีค. - เมย. เช่นเดียวกับกลุ่มอื่นๆ ส่วนกลุ่ม COVID beneficiaries พวกนี้ได้รับผลกระทบน้อย และเริ่มมีแรงซื้อกลับเข้ามาเพิ่มมากขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่ต้น

Crypto-low-risk : Diversification&Coin Selection

  Crypto-low- risk : Diversification&Coin Selection ................................... บทความนี้ตั้งใจเขียนเพื่อแชร์ไอเดีย ต้องเคลียร์ก่อนจริงๆไม่ใช่ Cryptocurrency เป็นสินทรัพย์ความเสี่ยงต่ำ แต่สิ่งที่เราทำได้คือจำกัดความเสี่ยง(Risk)ในพอร์ตของเราให้ต่ำที่สุด เพื่อให้การลงทุน/เทรด Cryptocurrency ไม่ทำร้ายตัวเรา ตอนสองเป็นเรื่องของการกระจายความเสี่ยง(Diversification) และ Product selection , เพื่อความเข้าใจง่ายมองเหรียญคริปโต เหมือน หุ้น มีหลายประเภทหลายกลุ่ม แม้จะอยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน, เหรียญคริปโตตัวหลักมีมากกว่า 50 ชนิดแต่พอเราศึกษาเชิงลึกจะพบว่า Business model และการนำไปประยุกต์ใช้นั้นแตกต่างกัน , จุดนี้มีผลในระยะยาวเพราะเมื่อมีการนำ Block chain technology ไปประยุกต์ใช้มากขึ้นๆๆใน 2-3 ปีข้างหน้า บทบาทและการเติบโตของ เหรียญ Cryptocurrentcy ย่อมเพิ่มตาม(Growth Factor) แม้ปัจจุบัน Cryptocurrency ส่วนใหญ่จะมีความสัมพันธ์(correlation) ระดับสูงกับ Bitcoin กล่าวคือยังแชร์ Risk Factor เดียวกัน เหมือนหุ้นที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน แต่สิ่งที่เห็นจากข้อมูลช่วง 3 เดือนที่ผ่านมาคื

crypto-low-risk : Asset Allocation

  crypto-low- risk : Asset Allocation ............................... เมื่อสุดสัปดาห์มีโอกาสไปแชร์ประสบการณ์เทรดและถกเรื่องตลาดคริปโตในช่วง market crash ที่ผ่านมา ผมนำไอเดียการสร้างพอร์ต digital asset แบบความเสี่ยงต่ำไปแลกเปลี่ยนกับ พี่ๆน้องๆเทรดเดอร์ วันนี้เลยจะมาแบ่งปันไอเดีย ไว้ในเพจด้วยเพื่อว่าใครที่สนใจจะได้ลองนำไปประยุกต์ใช้(ย้ำเป็นแนวทางส่วนตัว ไม่ซิ่งแต่ก็เน้นปลอดภัยไม่ตกรถแน่นอน) หัวข้อที่ 1 เป็นเรื่องของการทำ asset allocation ปัจจุบัน crypto currecntcy กลายเป็น asset ซึ่งเป็นที่ยอมรับจากโลกการเงินไปแล้ว ไม่ว่าจะเป็นกองทุนหรือแม้แต่บริษัทวาณิชธนกิจยักษ์ใหญ่เช่น JPM, Goldmansach และ Blackrock ก็แนะนำลูกค้านักลงทุนในการสะสม crypto currecntcy ในพอร์ตกันแล้ว , ประเด็นสำคัญคือ จะถือเท่าไหร่ ที่เหมาะสม? กับ ความเสี่ยง(Risk) ที่เรารับได้ อันนี้เป็นโจทย์ ที่แต่ละคนไม่เหมือนกัน คริปโตเช่น Bitcoin มีระดับความผันผวนสูงมาก โดยเฉพาะ ถ้าต้องเข้าซื้อใน ราคาปัจจุบัน(ปี2021) ดังนั้นมองแต่ Return ในอนาคตและเป้าของนวค. ที่ $100000, ไม่พอ แต่ต้องคิดถึง Risk contribution ที่จะส่งกลับมาด้วยเม